วิธีและเทคนิคการคำนวณด้วยบลัพเพื่อประเมินคุณค่าทางพันธุกรรมของแม่โคขาวลำพูนสำหรับน้ำหนักหย่านม

Main Article Content

สุวัฒน์ รัตนรณชาติ

บทคัดย่อ

การคำนวนสำหรับเบสท์ลิเนียร์อันไบแอสพริดิคชั่นในมิกซ์โมเดลอาจจะไม่ง่ายนักและใช้เวลาค่อนข้างมาก แต่ก็เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุดสำหรับการประเมินคุณค่าทางพันธุกรรมของปศุสัตว์ ถูกนำมาใช้เป็นครั้งแรกในโคนมและขณะนี้ก็ใช้ในโคเนื้อและสุกรด้วยเหมือนกัน  ในบทความนี้ได้อธิบายถึงวิธีและเทคนิคในการคำนวณของวิธีดังกล่าวโดยใช้โมเดลสำหรับการประเมินแม่โคในฝูงโคขาวลำพูนของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่สำหรับน้ำหนักหย่านม  อย่างไรก็ตามเทคนิคการคำนวณที่นำเสนอนี้สามารถใช้ได้กับมิกซ์โมเดลทั่วไป


 


 


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Harvey, W. R. (1987). User's Guide for LSMLMW PC-1 Version. Ohio Univ., Columbus, Ohio. Henderson, C. R. (1973). Sire evaluation and genetic trend. In Proceedings of the the Animal Breeding and Genetics Symposium in Honor of Jay L. Lush. ASAS and ADSA, Champaign, IL.
Henderson, C. R. (1975). Use of all relatives in intra-herd prediction of breeding values and producing abilities. J. Dairy Sci. 58: 19-10.
Henderson, C. R. (1976). A simple method for computing the inverse of a numerator relationship matrix used in prediction of breeding values. Biometrics 32:69.
Quaas. R. L. and Pollak, E. J. (1980). Mixed model methodology for farm and ranch beef cattle testing programs. J. Anim. Sci. 51: 1277.
Searle. S. R. (1971). Linear Models. John Wiley & Sons, Inc.
Van Vleck. D. (1979). Notes on the Theory and Application of Selection Principles for the Genetic Improvement of Animals. Cornell Univ., Ithaca, New York.