ผลของการกระแทกต่อรอยช้ำบนผลพลับพันธุ์ซิชู (P2)

ผู้แต่ง

  • สุบงกช โตไพบูลย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
  • เอื้ออังกูล ปัญญานวล วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
  • จุฑาทิพย์ คงเรือง วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
  • ปรียานันท์ กลมกล่อม วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
  • เอกรินทร์ อินประมูล วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
  • ณัฐธินี ทรายแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

คำสำคัญ:

ผลพลับ, การขยายตัวรอยช้ำ, การกระแทก, แรงดล, ลักษณะเนื้อสัมผัส

บทคัดย่อ

การศึกษาผลของการกระแทกต่อการเกิดรอยช้ำบนผลพลับพันธุ์ซิชู (P2) โดยใช้ผลพลับจากศูนย์พัฒนา โครงการหลวงแม่แฮ อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ โดยนำผลพลับในระยะผลแก่และผลสุกมาทดสอบคุณสมบัติของเนื้อสัมผัส แล้วนำมาทดสอบผลของการตกกระแทกด้วยปริมาณแรงดลที่ระดับความสูง 4 ระดับ คือ 20, 30, 40 และ 50 ซม. จากนั้นนำไปเก็บไว้ที่อุณหภูมิ 25ซ. เป็นเวลา 1, 3, 5 และ 7 วัน เพื่อตรวจสอบการขยายตัวของรอยช้ำหลังกระแทก ผลการทดสอบคุณสมบัติเนื้อสัมผัส พบว่า ผลพลับแก่มีค่าความแข็งสูงกว่าผลสุก สามารถต้านทานการเสียรูปได้ดีกว่า ค่าแรงดลที่ได้จากการทดสอบการกระแทกผลพลับแก่มีค่าสูงกว่าผลพลับสุก ที่ความสูงระดับเดียวกัน โดยรอยช้ำที่เกิดขึ้นแปรผันตามแรงดลและขยายตัวเพิ่มขึ้นตามเวลา ซึ่งรอยช้ำของผลพลับสุกจะขยายตัวมากกว่าผลแก่โดยเฉพาะที่ความสูงของการตกกระแทกมากกว่า 30 ซม. ผลการทดสอบ ในงานวิจัยนี้ทำให้ทราบว่าการป้องกันการเกิดรอยช้ำ ควรหลีกเลี่ยงแรงดลที่มากกว่า 100 นิวตัน หรือการ ตกกระแทกสูงกว่า 20 ซม.

Author Biographies

สุบงกช โตไพบูลย์, วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิศวกรรมการผลิตและนวัตกรรมอาหาร วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่

เอื้ออังกูล ปัญญานวล, วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิศวกรรมการผลิตและนวัตกรรมอาหาร วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่

จุฑาทิพย์ คงเรือง, วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิศวกรรมการผลิตและนวัตกรรมอาหาร วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่

ปรียานันท์ กลมกล่อม, วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิศวกรรมการผลิตและนวัตกรรมอาหาร วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่

เอกรินทร์ อินประมูล, วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิศวกรรมการผลิตและนวัตกรรมอาหาร วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เ

ณัฐธินี ทรายแก้ว, วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิศวกรรมการผลิตและนวัตกรรมอาหาร วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เ

เผยแพร่แล้ว

05-06-2019