การผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากลีโอนาร์ไดต์ตามมาตรฐานปุ๋ยอินทรีย์กรมวิชาการเกษตร

Main Article Content

แสงดาว แลนรอด (เขาแก้ว)
ชัยภัทร คงแก้ว
จริยา อามาตย์มนตรี
คณพล จุฑามณี

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมบัติของลีโอนาร์ไดต์และปุ๋ยอินทรีย์ 8 สูตร ที่ได้จากลีโอนาร์ไดต์ผสมกับถ่านแกลบไบโอชาร์กากถั่วเหลือง(โปรตีน 43เปอร์เซ็นต์) รำละเอียด โดโลไมต์ น้ำปราศจากไอออนและกากน้ำตาลตามข้อกำหนดมาตรฐานปุ๋ยอินทรีย์ของกรมวิชาการเกษตรผลการทดลองพบว่าปุ๋ยทุกสูตรมีค่าอินทรียวัตถุสูงกว่า 40เปอร์เซ็นต์สัดส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจน (C/N ratio) ต่ำกว่า 25:1 สมบัติทุกประการของปุ๋ยทุกสูตรผ่านเงื่อนไขของกรมวิชาการเกษตรยกเว้นค่าพีเอช ค่า C/N ratio และค่าการย่อยสลายสมบูรณ์สูตรผสมที่ดีที่สุดที่ทำให้ปุ๋ยมีสมบัติทุกประการผ่านมาตรฐานกำหนดของกรมวิชาการเกษตรคือ สูตรที่ได้จากการผสม 45,35และ 20 เปอร์เซ็นต์ ลีโอนาร์ไดต์ แกลบไบโอชาร์ และกากถั่วเหลือง ตามลำดับ การลดแกลบไบโอชาร์ลง10เปอร์เซ็นต์แล้วแทนด้วยโดโลไมต์ในสูตรนี้ ทำให้ค่าการย่อยสลายสมบูรณ์ของปุ๋ยลดจาก 96 เปอร์เซ็นต์ เป็น 66-70 เปอร์เซ็นต์ สำหรับปุ๋ยสูตรที่ใช้รำละเอียดแทนการใช้กากถั่วเหลืองสมบัติปุ๋ยผสมที่ได้ใกล้เคียงกับการใช้กากถั่วเหลืองแต่มีค่าพีเอชต่ำกว่าค่าการย่อยสลายสมบูรณ์ และค่า C/N ratio สูงกว่าปุ๋ยสูตรที่ได้จากการผสมกับกากถั่วเหลือง การผสมกากน้ำตาลลงไปในสูตรการผสมส่งผลให้ค่าการย่อยสลายสมบูรณ์ของปุ๋ยลดลง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมวิชาการเกษตร. 2548. ประกาศกรมวิชาการเกษตร: เรื่องมาตรฐานปุ๋ยอินทรีย์ พ.ศ. 2548. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

กรมวิชาการเกษตร. 2551. การขอขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญการขึ้นทะเบียน การขอแก้ไขรายการทะเบียน และแก้ไขรายการทะเบียนปุ๋ยอินทรีย์ตามพระราชบัญญัติปุ๋ย พ.ศ. 2518 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปุ๋ย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550. ประกาศกรมวิชาการเกษตร เล่ม 125 ตอนพิเศษ 67 ง: 13-49.

กรมวิชาการเกษตร. 2557. กำหนดเกณฑ์ปุ๋ยอินทรีย์ตามพระราชบัญญัติปุ๋ย พ.ศ. 2518 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปุ๋ย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 (2555, 29 มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 129 ตอนพิเศษ 59 ง.

กัญจน์กรวลัย ฤทธิ์เรืองเดช. 2554. การประเมินลักษณะและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยอินทรีย์ที่จำหน่ายในเขตภาคกลางและผลของกระบวนการปั้นเม็ดต่อคุณสมบัติของปุ๋ยอินทรีย์. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ชาญยุทธ รัตนพรหมมณี, กวิพร จินะจันตา และอรวรรณ ฉัตรสีรุ้ง. 2560. ผลของลีโอนาร์ไดท์ต่อการปรับปรุงคุณภาพดินและผลผลิตข้าว.

วารสารเกษตร 33 (2): 215-224.

ณธรรศ สมจันทร์ และอรวรรณ ฉัตรสีรุ้ง. 2557. การปรับปรุงคุณภาพลีโอนาร์ไดต์สำหรับเป็นวัสดุปรับปรุงดิน. วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ 37 (1): 33-43.

นรีลักษณ์ ชูวรเวช. 2548. เอกสารวิชาการเรื่อง ความรู้เกี่ยวกับปุ๋ยอินทรีย์. กรุงเทพฯ: สำนักวิจัยและพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร

กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

ภาสินี สืบสวน, ศรัณย์ สืบกระแสร์, ศตวรรษ บุญมี และสุกัญญา แย้มประชา. 2560. ผลของการใช้ลีโอนาร์ไดต์และปุ๋ยมูลโคต่อการเจริญเติบโต ผลผลิตของดอกดาวเรือง และการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินหลังปลูก ใน รายงานการประชุมวิชาการดินและปุ๋ยแห่งชาติ ครั้งที่ 5. ขับเคลื่อนนวัตกรรมด้านดินและปุ๋ย ก้าวสู่...เกษตร 4.0. น. 52-61. โรงแรมเซ็นทรา บาย เซ็นทารา ศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ, กรุงเทพฯ.

วิวัฒน์ โตธิรกลุ, พลยุทธ ศุขสมิติ และจินดารัตน์ โตกมลธรรม. 2552. การเตรียมสารประกอบเกลือฮิวเมตจากดินปนถ่านหินจากเหมืองลิกไนต์

แม่เมาะ จังหวัดลำปาง. กรุงเทพฯ: สำนักงานอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่เขต 3 กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวงอุตสาหกรรม.

หทัยชนก นันทพานิช และภาสกร นันทพานิช. 2555. รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์เพื่อการค้าประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

อัจจิมา ควรสงวน. 2559. ผลของการใช้วัสดุปูนและถ่านแกลบไบโอชาร์ต่อผลผลิตข้าว การเปลี่ยนแปลง ปริมาณของธาตุฟอสฟอรัส อะลูมินัม และจุลธาตุในดินนากรดจัด. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Abdallah, M., Dubousset, L., Meuriot, F., Etienne, P., Avice, J. C., and Ourry, A. 2010. Effect of mineral sulphur availability on nitrogen and sulphur uptake and remobilization during the vegetative growth of Brassica napus L. Journal of Experimental Botany

(10): 2635-2646.

Akinremi, O. O., Janzen, H. H., Lemke, R. L., and Larney, F. J. 2000. Response of canola, wheat and green beans to leonardite additions. Canadian Journal of Soil Science 80 (3): 437-443.

Hinnawy, E. I. E. 1956. Some aspect of mineral nutrition and flowering. pp. 51. https://edepot.wur.nl/290950.

Hoffman, G. L., Nikols, D. J., Stuhec, S., and Wilson, R. A. 1993. Evaluation of leonardite (humalite) resources of Alberta.

Alberta Research Council Open file report, pp. 45.

Kalaitzidis, S., Papazisimou, S., Giannouli, A., Bouzinos, A., and Christanis, K. 2003. Preliminary comparative analyses of two Greek leonardites. Fuel 82: 859-861.

Kolodziej, B., Sugier, D., and Bielinska, E. 2013. The effect of leonardite application and various plantation modalities on yielding and quality of roseroot (Rhodiola rosea L.) and soil enzymatic activity. Journal of Geochemical Exploration. 129: 64-69.

Laird, D., Flemming, P., Wang, B., Horton, R., and Karlen, D. 2010. Biochar impact on nutrient leaching from a mid-western agricultural soil. Geoderma 158 (3-4): 436-442.

Landrot, G., Jutamanee, K., Sooksamiti, P., and Khaokaew, S. 2014. Capacity of humic acids extracted at the large scale from

Mae-Moh leonardite to be used as soil amendments based on their chemical properties. In Proceeding of the 20th World Congress of Soil Science. pp. 424. Korean Society of Soil Science and Fertilizer, Jeju, South Korea.

Lehmann, J., da Silva, Jr. J. P., Steiner, C., Nehls, T., Zech, W., and Glaser, B. 2003. Nutrient availability and leaching in an archaeological Anthrosol and a Ferralsol of the Central Amazon basin: fertilizer, manure and charcoal amendment.

Plant and Soil 249: 343-357.

Liang, B., Lehmann, J., Solomon, D., Kinyangi, J., Grossman, J., O'Neill, B., Skjemstad, J. O., et al. 2006. Black carbon increase cation exchange capacity in soils. Soil Science Society of America Journal 70 (5): 1719-1730.

Ozdoba, D. M., Blyth, J. C., Engler, R. F., Dinel, H., and Schnitzer, M. 2001. Leonardite and humified organic matter. In Humic Substances: Structures, Models and Functions (Special Publication). Ghabbour, E. A. and Davies, G., eds. pp. 388. Cambridge: Royal Society of Chemistry.

Olivella, M. A, Sole, M., Gorchs, R., Lao, C., and Heras, F. X. C. D. 2011. Geochemical characterization of a spanish leonardite coal. Archives of Mining Sciences 56 (4): 789-804.

Pertuit, A. J., Jerry, J. B., Dudley, Jr., and Toler, J. E. 2001. Leonardite and fertilizer levels influence tomato seedling growth.

Horticultural Science 5: 913-915.

Pochadom, S., Khaokaew, S., Sooksamiti, P., Jutamanee, K., and Landrot, G. 2013. Chemical Characterizations of Leonardite from Mae Moh Mine for Agricultural Applications. In The 51st Kasetsart University Annual Conference. pp. 243-249.

Kasetsart University, Bangkok, Thailand.

Priya, V., Lokesh, M., Kesavan, D., Komathi, G., and Naveena, S. 2017. Evaluating the perfect carbon: nitrogen (C:N) ratio for decomposing compost. International Research Journal of Engineering and Technology 4 (9): 1144-1147.

Sanli, A., Karadogan, T., and Tonguc, M. 2013. Effect of leonardite applications on yield and some quality parameters of potatoes (Solanum tuberosum L.). Turkish Journal of Field Crops 18: 20-26.

Simandl, G. J., Simandl, J., and Aylen, P. B. 2001. Leonardite-type materialat red lake diatomite deposit, Kamloops area, BC.

In Geological Fieldwork 2000: A Summary of Field Activities and Research. pp. 371-378. Ministry of Energy and Mines.

Sohi, S. P. 2012. Carbon storage with benefit. Science 338: 1034-1035.

Sugier, D., Kolodziej, B., and Bielinska, E. 2013. The effect of leonardite application on Arnica montana L. yielding and chosen chemical properties and enzymatic activity of the soil. Journal of Geochemical Exploration 129: 76-81.

Sun, F., and Lu, S. 2014. Biochars improve aggregate stability, water retention and porespace properties of clayey soil.

Journal of Plant Nutrition and Soil Science 177: 26-33.

Tan, K. H. 2003. Humic Matter in Soil and the Environment: Principles and Controversies. Florida: CRC Press.

Wang, Y., Hu, Y., Zhao, X., Wang, S., and Xing, G. 2013. Comparisons of biochar properties from wood material and crop residues at different temperatures and residence times. Energy Fuel 27: 5890-5899.

Yolcu, H., Seker, H., Gullap, M. K., Lithourgidis, A., and Gunes, A. 2011. Application of cattle manure, zeolite and

leonardite improves hay yield and quality of annual ryegrass (Lolium multiflorum Lam.) under semiarid conditions.

Australian Journal of Crop Science 5: 926-931.