การจัดการเพาะฟักแม่ปูม้า (Portunus pelagicus) ไข่นอกกระดองสีเทาดำ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพทางการประมง

Main Article Content

ไพโรจน์ แก้วมาก
วุฒิชัย อ่อนเอี่ยม
วาสนา อากรรัตน์
จักรพงษ์ หรั่งเจริญ
ประกายดาว ยิ่งสง่า
ยุทธพล สาเอี่ยม

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ของการศึกษาแนวทางการจัดการการเพาะฟักแม่ปูม้า (Portunus pelagicus) ไข่นอกกระดองสีเทาดำเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการสืบพันธุ์ของแม่ปูม้าที่ได้จาก อวนจมปู และลอบปู เพื่อทำการเปรียบเทียบผลดำเนินการ
เพาะฟักแม่ปูม้าที่มีรูปแบบการเพาะฟักต่างกัน ในช่วงเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2561 พบว่าแม่ปูม้าที่ได้มาจากการประมงลอบปูให้ค่าความกว้างกระดองเฉลี่ย ความยาวกระดองเฉลี่ย น้ำหนักไข่เฉลี่ย และจำนวนไข่เฉลี่ย มากกว่าแม่ปูม้าที่ได้มาจากการประมงอวนจมปูอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) ส่วนอัตราการฟักไข่เฉลี่ย และจำนวนลูกปูม้าแรกฟักเฉลี่ยของแม่ปูม้าที่ได้
มาจากการประมงลอบปู พบว่า ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญกับแม่ปูม้าที่ได้มาจากการประมงอวนจมปู (P>0.05) สำหรับรูปแบบการจัดการการเพาะฟักแม่ปูม้าไข่นอกกระดองสีเทาดำ พบว่า การเพาะฟักแบบเดี่ยวในถังเพาะฟัก การเพาะฟักแบบเดี่ยวในบ่ออนุบาล และการเพาะฟักแบบรวมในบ่ออนุบาล ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของพื้นที่ และตามความต้องการการใช้ประโยชน์จากแม่พันธุ์ปูม้า โดยแนวทางในการดำเนินการเพาะฟักแม่ปูม้าไข่นอกกระดองสีเทาดำของเกษตรกร หรือผู้สนใจทั่วไปสามารถ
นำรูปแบบการเพาะฟักไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กมลรัตน์ พุทธรักษา, อุดม เครือเนียม และบุญฤทธิ์ เจริญสมบัติ. 2555. ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปูม้าบริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก.

เอกสารวิชาการฉบับที่ 16/2555. สำนักวิจัยและพัฒนาประมงทะเล, กรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

กรมประมง. 2560. สถิติการประมงแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558. เอกสารวิชาการฉบับที่ 5/2560. กลุ่มวิจัยและวิเคราะห์สถิติการประมง,

กองนโยบายและยุทธศาสตร์พัฒนาการประมง, กรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

กรวิทย์ จันทร์กุศล และเสาวนีย์ สิงหะไกรวรรณ. 2552. การประมงอวนจมปูและลอบปูแบบพับได้บริเวณอ่าวไทยตอนใน. เอกสารวิชาการฉบับที่ 3/2552. สำนักวิจัยและพัฒนาประมงทะเล, กรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

กรุณา สัตยมาศ และสุชาติ ยังทรัพย์. 2532. การเลี้ยงปูม้าโดยใช้พื้นที่และที่กำบังชนิดต่าง ๆ. เอกสารวิชาการฉบับที่ 1. กลุ่มพัฒนาแหล่งประมง, ศูนย์วิจัยประมงทะเลอันดามัน, กองประมงทะเล, กรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

จินตนา จินดาลิขิต, จักรพัณน์ ปิ่นพุทธศิลป์, ขนิษฐา เสรีรักษ์ และสุวรักษ์ วงษ์โท. 2554. ชีววิทยาและการประเมินทรัพยากรปูม้า

Portunus pelagicus (Linnaeus, 1758) บริเวณอ่าวไทยตอนบน. เอกสารวิชาการฉบับที่ 3/2551. สำนักวิจัยและพัฒนาประมงทะเล, กรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

จินตนา จินดาลิขิต. 2544. ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปูม้า Portunus pelagicus (Linnaeus, 1758) บริเวณอ่าวไทยตอนบน. ใน รายงานการสัมมนาวิชาการประจำปี 2544. ห้องประชุมกรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

ธีรยุทธ ศรีคุ้ม และประภาส บินร่าหมาน. 2546. การศึกษาประสิทธิภาพอวนจมปู. เอกสารวิชาการฉบับที่ 1/2546. สำนักวิจัยและพัฒนา

ประมงทะเล, กรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

นงนุช ตั้งเกริกโอฬาร และศุภางค์ ชำปฏิ. 2550. พัฒนาการของคัพภะและระยะเวลาของการฟักไข่ในปูม้าเพศเมียที่มีไข่นอกกระดอง.

วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา 12(2): 55-62.

พีระ อ่าวสมบูรณ์, จำนอง อุบลสุวรรณ และเรืองไรวินท์ เรืองพริ้ม. 2549. การเปรียบเทียบขนาดตาอวนที่เหมาะสมในการทำประมงปูม้าด้วย

อวนจมปูและลอบปูบริเวณอ่าวพังงา. เอกสารวิชาการฉบับที่ 1/2549. สำนักวิจัยและพัฒนาประมงทะเล, กรมประมง,

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

มนตรี สุมณฑา และวุฒิชัย วังคะฮาต. 2549. การประมงอวนจมปูบริเวณจังหวัดระนอง. เอกสารวิชาการเลขที่ 27/2549. สำนักวิจัยและพัฒนาประมงทะเล, กรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

วารินทร์ ธนาสมหวัง, ชัยยุทธ พุทธิจุน, วัฒนา ฉิมแก้ว และสุพิศ ทองรอด. 2548. การเลี้ยงปูม้าในบ่อดิน. ใน รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการ

การผลิตพันธุ์และการเลี้ยงปูม้า (Portunus pelagicus Linnaeus, 1758) เชิงพาณิชย์. น. 339-369.

กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

วารินทร์ ธนาสมหวัง. 2548. การเพาะเลี้ยงปูม้าเชิงพาณิชย์. เอกสารเผยแพร่โครงการการผลิตพันธุ์ และการเลี้ยงปูม้า (Portunus pelagicus Linnaeus,1758) เชิงพาณิชย์. ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งสมุทรสาคร, กรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

วีรชัย เพชรสุทธิ์, ศิริชัย อุ่นศรีส่ง, ชลดรงค์ ทองสง และอำนาจ รักษาผล. 2554. แนวทางการฟื้นฟู และการจัดการใช้ประโยชน์ทรัพยากรปูม้า

อย่างยั่งยืน โดยชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วม บริเวณอ่าวละแม จังหวัดชุมพร. รายงานผลการวิจัย. มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

วุฒิ คุปตะวาทิน. 2543. การเพาะและอนุบาลลูกปูม้าเพื่อปล่อยลงสู่แหล่งธรรมชาติเพื่อเป็นการเพิ่มทรัพยากรสัตว์น้ำ. เอกสารวิชาการฉบับที่ 1/2543. สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งจังหวัดระยอง, กองเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง, กรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

วุฒิชัย วังคะฮาต, ธีรยุทธ ศรีคุ้ม, กมลพันธุ์ อวัยวานนท์, ศันสนีย์ ศรีจันทร์งาม, อำนาจ ศิริเพชร, เฉลิมชาติ อรุณโรจน์ประไพ และกำพล ลอยชื่น. 2550. การประมงอวนจมปู. เอกสารวิชาการฉบับที่ 13/2550. สำนักวิจัยและพัฒนาประมงทะเล, กรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

วุฒิชัย อ่อนเอี่ยม และวราห์ เทพาหุดี. 2553. ความสัมพันธ์ทางกายภาพต่อปริมาณไข่ และอัตราการฟักไข่ของแม่ปูม้า (Portunus pelagicus Linnaeus,1758) ที่ได้จากการเลี้ยงในบ่อดิน. ใน เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการครั้งที่ 48: สาขาประมง. น. 99-107. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วุฒิชัย อ่อนเอี่ยม และวาสนา อากรรัตน์. 2554. การศึกษารูปแบบที่เหมาะสมของการเลี้ยงแม่พันธุ์ปูม้า (Portunus pelagicus) หลังเพาะฟัก

เพื่อให้มีไข่นอกกระดองอีกครั้ง. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 29(1): 16-24.

วุฒิชัย อ่อนเอี่ยม. 2554. การศึกษาสาเหตุการตายของการเลี้ยงปูม้า (Portunus pelagicus Linnaeus, 1758) ในบ่อดิน. วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ). สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ศันสนีย์ ศรีจันทร์งาม และโรจนรุตม์ รุ่งเรือง. 2549. การประมงอวนจมปูบริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานี. เอกสารวิชาการฉบับที่ 20/2549.

สำนักวิจัยและพัฒนาประมงทะเล, กรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

สุเมธ ตันติกุล. 2527. ชีววิทยาการประมงของปูม้าในอ่าวไทย. กองประมงทะเล, กรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

อรสา เพชรสลับศรี, สุชาติ แสงจันทร์, ทัศนีย์ ศุภพฤกษ์ และเกี่ยวพันธุ์ เจนการ. 2555. การประมงปูม้าจากเครื่องมือประมงพื้นบ้าน

บริเวณฝั่งตะวันตกของจังหวัดพังงา. เอกสารวิชาการฉบับที่ 14/2555. สำนักวิจัยและพัฒนาประมงทะเล, กรมประมง,

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

APHA, AWWA, and WEF. 1998. Standard method for the examination of water and wastewater. 20th ed. Washington, D.C.: American Public Health Association (APHA), American Water Works Association (AWWA), Water Environment Federation (WEF).

Grasshoff, K. 1976. Methods for seawater analysis. New York: Verlag Chemie.

Oniam, V., and Arkronrat, W. 2014. Reproductive performance and larval quality of first and second spawning of pond-reared blue swimming crab, Portunus pelagicus, Broodstock. Kasetsart Journal (Natural Science) 48(4): 611-618.