ผลของสารละลายธาตุอาหารต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพของผักสลัดพันธุ์กรีนโอ๊ค ในระบบไฮโดรโพนิกส์

Main Article Content

นพดล ชุ่มอินทร์

บทคัดย่อ

ผักสลัด (Lactuca sativar L.) เป็นผักที่มีคุณค่าทางอาหารและได้รับความนิยมมากขึ้น แต่ผู้บริโภคยังมีความกังวลต่อปริมาณไนเตรตที่สะสมในผักสลัดของการปลูกพืชไม่ใช้ดิน การทดลองนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของสารละลายธาตุอาหารสูตร Alan, Enshi, NSRU 1, NSRU 2 และ NSRU 3 ต่อการเจริญเติบโต คุณภาพ และปริมาณไนเตรตที่สะสมในผักสลัดพันธุ์
กรีนโอ๊คที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์แบบ Nutrient Film Technique (NFT) วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) จำนวน 6 ซ้ำ (4 ต้น/ซ้ำ) ผลการทดลองพบว่า ผักสลัดพันธุ์กรีนโอ๊คที่ปลูกในสารละลายธาตุอาหารสูตร NSRU 2 มีการเจริญเติบโตด้านความกว้างใบ ความกว้างทรงพุ่ม ความสูง และน้ำหนักแห้งต้นมากที่สุด โดยส่วนใหญ่ไม่แตกต่างกับสูตร NSRU 1 ที่มีการเจริญเติบโตด้านจำนวนใบ และน้ำหนักสดต้นมากที่สุด ส่วนด้านคุณภาพ พบว่า ผักสลัดที่ปลูกในสารละลายธาตุอาหารสูตรต่าง ๆ มีค่าความชื้น (95.13-96.16%) ไขมัน (3.33-5.07%) เถ้า (17.9-20.4%) เส้นใยหยาบ
(11.26-17.30%) และแคลเซียม (0.08-0.14%) ใกล้เคียงกัน ส่วนการวิเคราะห์ปริมาณไนเตรตสะสมในใบของผักสลัดพันธุ์
กรีนโอ๊ค พบว่า ผักสลัดที่ปลูกในสารละลายธาตุอาหารสูตร Enshi สูตร NSRU 1 สูตร NSRU 3 สูตร Alan และสูตร NSRU 2
มีปริมาณไนเตรตเท่ากับ 332.97, 524.09, 701.05, 937.59 และ 1,019.87 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน้ำหนักสด ตามลำดับ ซึ่งไม่เกินค่ามาตรฐานที่สหภาพยุโรปกำหนด 3,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน้ำหนักสด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรรณิกา จ้าเสียง. 2555. ปริมาณไนเตรตที่ตกค้างในผักสลัด (Green Oak). ปัญหาพิเศษ. สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ชัยอาทิตย์ อิ่นคำ. 2557. ไนเตรตสะสมในผักไฮโดรโพนิกส์. สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. https://stri.cmu.ac.th/article_detail.php?id=26 (11 ธันวาคม 2562).

ดิเรก ทองอร่าม. 2550. การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน: หลักการจัดการผลิตและเทคโนโลยีการผลิตเชิงธุรกิจในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3.

กรุงเทพฯ: พิมพ์ดีการพิมพ์.

ดิเรก ทองอร่าม. 2554. การสร้างสูตรสารละลายธาตุอาหารพืช เพื่อการปลูกพืชไม่ใช้ดิน. วารสารอาชีวะและเทคนิคศึกษา 1(1): 32-41.

ธีระศักดิ์ พงษาอนุทิน. 2546. ผลของสัดส่วนระหว่างไนเตรตต่อแอมโมเนียมและปริมาณแคลเซียมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของผักกาดหอม “คอส” ที่ปลูกในสารละลายธาตุอาหาร. ปัญหาพิเศษ. ภาควิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

มนูญ ศิรินุพงศ์. 2544. การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินสู่การปฏิบัติในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: เจริญรัฐการพิมพ์.

เยาวพา จิระเกียรติกุล และนิสา แซ่ลิ้ม. 2552. การเจริญเติบโตของผักกาดหอมพันธุ์ Red Oak ที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์

ด้วยสารละลายสูตรต่าง ๆ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 17(2): 81-88.

โสระยา ร่วมรังษี. 2544. การผลิตพืชสวนแบบไม่ใช้ดิน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

Alaburda, J., and Nishihara, L. 1998. Presence of nitrate compound in well water. Revista de Saude Pubilca 32(2): 160-165.

AOAC. 2000. Official method of analysis. Washington, D.C.: Association of Official Analytical Chemists.

Barickman, T. C., Horgan, T. E., Wheeler, J. R., and Sams, C. E. 2016. Elevated levels of potassium in greenhouse-grown red romaine lettuce impacts mineral nutrient and soluble sugar concentration. HortScience 51: 504-509.

Carlo, F., Youssef, R., Mariateresa, C., Elvira, R., Alberto, B., and Colla, G. 2009. Yield and quality of leafy lettuce in response to nutrient solution composition and growing season. Journal of Food Agriculture & Environment 7(2): 456-462.

Cataldo, D. A., Maroon, M., Schrader, L. E., and Yongs, V. L. 1975. Rapid colorimetric determination of nitrate in plant-tissue by nitration a salicylic acid. Communications in Soil Science and Plant Analysis 6: 71-80.

Cooper, A. J. 1976. Nutrient film technique of growing plant. London: Grower Books.

Dechorgnat, J., Nguyen, C. T., Armengaud, P., Jossier, M., Diatloff, E., Filleur, S., and Francoise, D. 2010. From the soil to the seed: the long journey of nitrate in plant. Journal of Experimental Botany 30: 1-11.

Diana, F., Leon, A., Logegaray, V., and Chiesa, A. 2005. Soilless culture technology for high quality lettuce.

Acta Horticulturae 697: 43-48.

European Commission. 2011. Amending Regulation (EC) No 1881/2006 as regards maximum levels for nitrates in foodstuffs (Commission Regulation (EU) No 1258/2011 of 2 December 2011). https://www.fsai.ie/uploadedFiles/Reg1258_2011.pdf (29 April 2018).

Femke, D. J., Kate, T., Laurence, V. L., and Bevan, M. W. 2014. Glucose elevates nitrate transporter protein levels and nitrate transport activity independently of its hexokinase 1-Mediated stimulation of nitrate transporter expression 1.

Plant Physiology 164: 308-320.

Food and Agricultural Organization of the United Nations (FAO). 2019. Statistical database- agriculture. http://faostat.fao.org/faostat/collections?subset=agriculture (10 December 2019).

Kim, M. J., Youyoun, M., Janet, C. T., Beiquan, M., and Waterland, N. L. 2016. Nutritional value, bioactive compounds and

health benefits of lettuce (Lactuca sativa L.). Journal of Food Composition and Analysis 49: 19-34.

Masson, J., Tremblay, N., and Gosselin, A. 1991. Nitrogen fertilization and HPS supplementary lighting influence vegetable transplant production I. Transplant growth. Journal of American Society for Horticultural Science 116: 594-598.

Maynard, D. N., Barker, A. V., Minotti, P. L., and Peck, N. H. 1972. Nitrate accumulation in vegetables. Advance in Agronomy 28:

-118.

Medici, A., and Krouk, G. 2014. The primary nitrate response: a multifaceted signaling pathway. Journal of Experimental Botany

(19): 1-10.

Resh, H. M. 1985. Hydroponic food production. California: Woodbridge Press.

Ruffel, S., Alain, G., and Lejay, L. 2014. Signal interactions in the regulation of root nitrate uptake. Journal of Experimental Botany

(19): 5509-5517.

Shinohara, Y., and Suzuki, Y. 1988. Quality improvement hydroponically grown leaf vegetable. Acta Horticulturae 230: 279-286.

Soundy, P., Cantliffe, D. J., Hochmuth, G. J., and Stoffella, P. J. 2001. Nutrient requirement for lettuce transplant using a floatation irrigation system II. potassium. HortScience 36: 1071-1074.

Sundar, S., Sanjib, S., and Zhiming, L. 2019. Effect of nutrient composition and lettuce cultivar on crop production in hydroponic culture. Horticulturae 5(4): 1-8.

Taiz, L., and Zeiger, E. 2006. Plant Physiology. 4th ed. Massachusetts: Sinauer Association.

Takebe, M., and Yoneyama, T. 1995. An analysis of nitrate and ascorbic acid in crop exudates using a simple reflection photometer system. Japanese Society of Soil Science and Plant Nutrition 66: 155-158.