การประเมินอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ชาชงใบหม่อนผสมผลหม่อนโดยวิธีสภาวะเร่ง

Main Article Content

ธนกิจ ถาหมี
พิไลรัก อินธิปัญญา
ดุษฎี บุญธรรม

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ชาชงผสมผลหม่อนและใบหม่อนโดยวิธีสภาวะเร่ง (ASLT; Q10) ด้วยการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ที่อุณหภูมิ 35, 45 และ 55 ºซ เป็นเวลานาน 60 วัน และเก็บรักษาต่อจนหมดอายุของผลิตภัณฑ์ชาชง โดยมีค่า TBA เกิน 1.6 mg MDA/kg พบว่า ผลิตภัณฑ์มีปริมาณจุลินทรีย์ปนเปื้อนเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชาใบหม่อน มกษ.3000-2552 และมาตรฐานผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน มผช.30-2558 จากการประเมินอายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์ชาชงโดยวิธีสภาวะเร่ง พบว่าเมื่อเก็บผลิตภัณฑ์ชาชงที่อุณหภูมิ 55 และ 45 ºซ ผลิตภัณฑ์ชาชงเก็บได้นาน 52 และ 121 วัน ตามลำดับ ขณะที่การทำนายอายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์ชาชงที่ 30 และ 5 ºซ ผลิตภัณฑ์ชาชงเก็บได้นาน 345 และ 2,304 วัน ตามลำดับ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จิราพร ลาภชุติพร ประเวทย์ ตุ้ยเต็มวงศ์ ฆรณี ตุ้ยเต็มวงศ์ และ จิรวัฒน์ กันต์เกรียงวงศ์. 2551. การทดสอบอายุการเก็บน้ำพริกน้ำเงี้ยวโดยวิธีเร่ง. หน้า 301-309. ใน: รายงานการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46. (1-4 กุมภาพันธ์ 2551). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ธนกิจ ถาหมี และ พิไลรัก อินธิปัญญา. 2559. การพัฒนาสูตรชาชงใบหม่อนผสมผลหม่อนโดยใช้การทดลองออกแบบส่วนผสม. วารสารเกษตร 32(2): 235-245.

นุชนารถ ทรัพย์พาณิชย์. 2546. Water Activity กับการควบคุมอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาหาร. วารสารจาร์พา 9(68): 48-51.

นิธิยา รัตนาปนนท์. 2557. เคมีอาหาร. พิมพ์ครั้งที่ 5. โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 504 หน้า.

ไพศาล วุฒิจำนงค์ อนุวัตร แจ้งชัด กมลวรรณ แจ้งชัด ธงชัย สุวรรณสิชณน์ เพ็ญขวัญ ชมปรีดา หทัยรัตน์ ริมคีรี วาณี ชนเห็นชอบ งามทิพย์ ภู่วโรดม และ สุคนธ์ชื่น ศรีงาม. 2543. การศึกษาอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาหารที่ผลิตในประเทศไทยอย่างครบวงจร: การศึกษาอายุการเก็บของผลไม้ไทยทอดกรอบ. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 32 หน้า.

ราณี หวังถวัลย์ ชัชวาล วัชราเรืองวิทย์ วรพจน์ สุนทรสุข และ ประเวทย์ ตุ้ยเต็มวงค์. 2557. การศึกษาดัชนีชี้วัดการเสื่อมเสียและการทำนายอายุการเก็บของข้าวแตนน้ำสมุนไพรอบเนย. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 45(2)พิเศษ: 693-699.

รุ่งนภา พงศ์สวัสดิ์มานิต. 2550. อายุการเก็บของผลิตภัณฑ์. หน้า 106-128. ใน: รุ่งนภา พงศ์สวัสดิ์มานิต (บก.). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมเกษตร. พิมพ์ครั้งที่ 2. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2552. มาตรฐานสินค้าเกษตร: ชาใบหม่อน มกษ. 3000-2552. สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ, กรุงเทพฯ. 10 หน้า.

สำนักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม. 2558. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ชาใบหม่อน มผช 30/2558. สำนักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม, กรุงเทพฯ. 7 หน้า.

ศจี สุวรรณศรี. 2551. หลักการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการประเมินทางประสาทสัมผัส. ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก. 155 หน้า.

อุบลรัตน์ สิริภัทราวรรณ ฮาเรต บราซ สุวัสสา พงษ์อำไพ และ สุภาภรณ์ ดั๊กกลาส. 2550. เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์เพื่อรักษาคุณภาพและยืดอายุการเก็บรักษาของชาเขียวใบหม่อน (เพื่อการส่งออก). รายงานการวิจัย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 407 หน้า.

AOAC. 2005. Official Methods of Analysis. 18th ed. The Association of Official Analytical Chemists (AOAC), Washington D.C. 1074 p.

Bell, L.N. and T.P. Labuza. 2000. Moisture Sorption: Practical Aspects of Isotherm Measurement and Use. AACC, Eagan Press, Eagan, Minnesota. 123 p.

Fecka, I. and S. Turek. 2008. Determination of polyphenolic compounds in commercial herbal drugs and spices from Lamiaceae: thyme, wild thyme and sweet marjoram by chromatographic techniques. Food Chemistry 108: 1039-1053.

Fennema, O.R. 1996. Water and Ice in Food Chemistry. 3rd ed. Marcel Dekker, New York. 1088 p.

Kilcast, D. and P. Subramaniam. 2000. The Stability and Shelf Life of Food. CRC Press, Boca Raton. 333 p.

Labuza, T.P. 1982. Shelf Life Dating of Foods. Food and Nutrition Press, Inc., Westport, Connecticut. 499 p.

Labuza, T.P. and M.K. Schmidl, 1985. Accelerated Shelf Life Testing of Foods. Food Technology 39(9): 57-64.

Mahattanatawee, K., J.A. Manthey, G. Luzio, S.T. Talcott, K. Goodner and E.A. Baldwin. 2006. Total antioxidant activity and fiber content of select Florida-grown tropical fruits. Journal of Agricultural and Food Chemistry 54: 7355-7363.

Maturin, L. and J.T. Peeler. 2001. Bacteriological Analytical Manual, Chapter 3: Aerobic plate count. (Online). Available: http://www.fda.gov/ Food/FoodScienceResearch/LaboratoryMethods/ucm063346.htm (June 1, 2014).

Mizrahi, S. 2004. Understanding and Measuring the Shelf Life of Food. F&N Press, Westport. 329 p.

Ranganna, S. 1991. Handbook of Analysis and Quality Control for Fruits and Vegetable Products. Tata McGraw-Hill Publishing Company Limited, New Delhi. 1112 p.

Shamberger, R.J., B.A.Shamberger and C.E. Willis. 1977. Malonaldehyde content of food. Journal of Nutrition 107: 1404-1409.

Tarlidgis, B.S., B. M. Watts, M.T. Younathan and L. Dugan. 1960. Determination of thiobarbituric acid value in food. Journal of American Oil Chemists Society 37: 44.

Tournas, V., M.E. Stack, P.B. Mislivec, H.A. Koch and R. Bandler. 2001. Bacteriological Analytical Manual, Chapter 18: Yeasts, molds, and mycotoxins. (Online). Available: http://www.fda.gov/Food/FoodScienceResearch/LaboratoryMethods/ucm071435.htm (June 1, 2014).

Waterman, P.G. and S. Mole. 1994. Analysis of Phenolic Plant Metabolites. Methods in Ecology. Blackwell Scientific Publications, Oxford. 238 p.