ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเปลือกว่านหางจระเข้ในการควบคุมหนอนใยผัก

Main Article Content

ปัณรสี สู่ศิริรัตน์

บทคัดย่อ

ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเปลือกว่านหางจระเข้ (Aloe vera L. Burm. f.) ในการควบคุมหนอนใยผัก (Plutella xylostella L.) เมื่อนำสารสกัดโดยใช้เอทานอลด้วยวิธีซอกซ์เลต (Soxhlet extraction) เพื่อทดสอบการไล่ การยับยั้งการกินอาหาร และอัตราการตายของหนอนใยผักพบว่าการไล่เมื่อเวลาผ่านไป 5 ชั่วโมง ความเข้มข้นที่ 1.0, 2.0 และ 3.0% (w/v)ให้เปอร์เซ็นต์การไล่ 40.1-60.00 % ความเป็นสารไล่อยู่ระดับ 3 ส่วนที่ความเข้มข้น 4.0 และ 5.0% w/v มีค่า 60.1-80.00% ความเป็นสารไล่อยู่ระดับ 4 สำหรับการทดสอบการยับยั้งการกินอาหารพบว่าค่า median antifeedant index; AFI50ที่ 24 ชั่วโมงเท่ากับ 2.97%( w/v)และค่าอัตราสำหรับการตาย 100% อยู่ที่ความเข้มข้น 3% (w/v) ขณะที่ค่า LC50 ที่ 72 ชั่วโมงเท่ากับ 1.83% และผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงระดับเอนไซม์ทำลายพิษ 2 ชนิด คือ เอสเทอเรสและ กลูตาไธโอน เอส-ทรานสเฟอเรสไม่พบความแตกต่างของเอนไซม์ทำลายพิษ 2 ชนิดในหนอนใยผักทุกรุ่นที่ความเข้มข้นเดียวกัน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กฤษณา สุเมธะ และ เยาวลักษณ์ จันทร์บาง. 2557. ฟิตเนสคอสต์ของความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงกลุ่มไดอะไมด์ในหนอนใยผัก. วารสารเกษตร 30(1): 29-37.
เกรียงไกร จำเริญมา และ เตือนจิตต์ สัตยาวิรุทธิ์. 2540. ประสิทธิภาพของสารสกัดสะเดากับหนอนกระทู้หอม. กีฏและสัตววิทยา 19(2): 78-88.
รติยา คูเขตพิทักษ์วงศ์ สังวาล สมบูรณ์ สุภาณี พิมพ์สมาน และ วัชรี คุณกิตติ. 2546. การเปรียบเทียบปริมาณสาร azadirachtin และฤทธิ์การยับยั้งการกินของสารสกัดจากเมล็ดสะเดาสามชนิดต่อหนอนใยผัก. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น 8(2): 11-16.
ศิริพรรณ ตันตาคม นันทิยา จิตธรรมมา บุญฤทธิ์ สายัมพล สุรัตน์วดี จิวะจินดา และ ธรรมศักดิ์ ทองเกตุ. 2550. ประสิทธิภาพในการเป็นสารไล่หนอนกระทู้ผักของน้ำมันหอมระเหยจากใบยูคาลิปตัส. วิทยาสารกำแพงแสน 5(1): 30-35.
สุรพล วิเศษสรรค์ มนัญญา เพียรเจริญ และ ธารี วัฒน-สมบัติ. 2544. ผลของสารสกัดจากใบสาบเสือ (Chromolaenaodorata) และเหง้าข่า (Alpinia galangal Stuntz) ต่อระดับเอนไซม์ทำลายพิษในหนอนใยผัก (Plutellaxylostella L.) หน้า 55-61. ใน: รายงานการประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 5 เรื่องอารักขาพืช: ผลิตอาหารเพื่อประชากรโลก:สมาคมคนไทย-ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีเกษตร/สมาคมอารักขาพืชไทย/สมาคมกีฎและสัตววิทยาแห่งประเทศไทย,กรุงเทพฯ.
สุรพล วิเศษสรรค์ และ เรวดี ชูช่วย. 2542. ประสิทธิภาพของสารสกัดจากตะไคร้หอม และสะเดากับการเปลี่ยนแปลงระดับเอนไซม์ทำลายพิษในเห็บสุนัข หน้า 847-851. ใน: รายงานผลการวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย. การประชุมวิชาการประจำปี โครงการ BRT ครั้งที่ 3. 11-14 ตุลาคม 2542. หาดใหญ่, สงขลา.
อดุลย์ รัตนมั่นเกษม. 2537. ว่านหางจระเข้ตำหรับแพทย์จีนฉบับปรับปรุง. นานมี บุ๊คส์, กรุงเทพฯ.
Abivardi, C. and G. Benz. 1984. Tests with extracts of 21 medicinal plants for antifeedant activity against larvae of Pierisbarssicae L. Mittheilungen der Schweizerische Entomologische Gesellschaft 57(4): 383-392.
Du. H., R.A. Fuh, J. Li, A. Corkanand and J.S. Lindsey. 1998. Photochem CAD: A computer-aided design and research tool in photochemistry. Photochemistry and Photobiology 68: 141-142.
Feng, R., W. Chen and M.B. Isman. 1995. Synergism of malathion and inhibition of midgut esterase activities by an extract from Meliatoosendan (Meliaceae). Pesticide Biochemistry and Physiology 53: 34-41.
Finney, D.J. 1978. Statistical Methods in Biological Assay.3rd ed. Charls Griffin and Company Limitted, London. 365 p.
Mackness, M., I.C.H. Walker, D.G. Rowland and N. R. Price. 1983. Esterase activity in homogenates of three strains of the rust red flour beetle Triboliumcastaneum (Herbst). Comparative Biochemistry and Physiology 74(1): 65-68.
McDonald, L.L., R.H. Guyand and R.D. Speirs. 1970. Preliminary evaluation of new candidate materials as toxicants, repellents and attractancts against stored product insect. Marketing Research Report No. 882. Agricultural Research Service, US., Dept. of Agriculture, Washington D.C.
Metcalf, R.L. 1989. Insect resistance to insecticides. Journal of Pesticide Science 26: 333-358.
Rose, H.A. and L.C. Terriere. 1980. Microsomal oxidase activity of tree blowfly species and its induction by phenobarbital an p-napthoflavone. Pesticide Biochemistry and Physiology 14: 275-281.
Reed, D.K., J.D. Warthen, Jr., E.C. Uebaland and G. L. Reed. 1982. Effect of two-triterpenoids from neem on feeding by cucumber beetles, (Coleoptera: Chrysomelidae). Journal of Economic Entomology 75: 1109-1113.
Talukder, F.A. and P.E. Howse. 1995. Evaluation of Aphanamixispolystachya as a source of repellents, antifeedants, toxicants and protectants in storage against Triboliumcastaneum. Journal of Stored Products Research 31(1): 55-61.
U.S. Environmental Protection Agency Office of Pesticide Programs 1961. Anthraquinone Fact Sheet, 1998 http://www.epa.gov/pesticides/biopesticides/ingredients/factsheets/factsheet_122701.htm, (20 November, 2010) .Booth, J., E Boyland P. Sims.An enzyme from rat liver catalyzing conjugation with glutathione.Biochem.
Visetson, S. and M. Milne. 2001. Effects of root extract from derris (Derris ellipticaBenth) on mortality and detoxification enzyme levels in the diamondback moth larvae (Plutellaxylostella Linn.). Kasetsart Journal : Natural Science 35: 157-163.
Waller, G.R., S. Mangiafico and C.R. Ritchey. 1978. A Chemistry investigation of Aloe barbadensis MILLER. Proceedings of the Oklahoma Academy of Science 58: 69-76.
Yu, S.J. 1984. Interaction of allelochemical with detoxification enzymes of insecticides susceptible and resistance fall armyworm. Pesticide Biochemistry and Physiology 22: 60-68.
Yu, S.J. and E.L. Hsu. 1985. Induction of hydrolases by allelochemicals and host plants in fall armyworm (Lepidoptera:Noctuidae) larvae. Environmental Entomology 14: 512-515.