การพัฒนาสูตรชาชงใบหม่อนผสมผลหม่อนโดยใช้การทดลองออกแบบส่วนผสม

Main Article Content

ธนกิจ ถาหมี
พิไลรัก อินธิปัญญา

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสูตรที่เหมาะสมของผลิตภัณฑ์ชาชงจากใบหม่อนและผลหม่อน โดยวางแผนการทดลองแบบ mixture design เพื่อศึกษาปัจจัยหลัก 3 ปัจจัย ได้แก่ ใบหม่อนอบแห้ง 20-60% ผลหม่อนห่ามอบแห้ง 20-60% และผลหม่อนสุก 20-60% พบว่าสัดส่วนที่เหมาะสมที่สุดคือ ใบหม่อนอบแห้ง 30% ผลหม่อนห่ามอบแห้ง 24% และผลหม่อนสุกอบแห้ง 46% ผลิตภัณฑ์มีค่าวอเตอร์แอคติวิตี้ 0.273 ความชื้น 4.22% เถ้า 5.38% ค่า EC50 287.08 mg/100 ml ปริมาณสารประกอบฟีนอลทั้งหมด 5.67 mg/g แอนโทไซยานิน 170.49 mg/100ml เคอร์ซิติน 100.60 mg/l, คาเทชิน 406.62 mg/l, แทนนิน 0.327% ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีความปลอดภัยทางด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค และมีคะแนนความชอบเฉลี่ยทุกคุณลักษณะอยู่ในระดับชอบถึงชอบปานกลาง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กนกวรรณ พรมจีน. 2553. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชาเขียวผสมตะไคร้และชะเอม. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 89 หน้า.
จริญญา พันธุรักษา นิรมล อุตอ่าง พวงทอง ใจสันติ์, จิตรา กลิ่นหอม ปิยะวรรณ สิมะไพศาล และโปรดปราน ทาเขียว. 2548. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ซุปผักบรรจุกระป๋อง. วารสารเกษตร 21(2): 157-164.
ธนกิจ ถาหมี และพิไลรัก อินธิปัญญา. 2555. การพัฒนาสูตรเครื่องดื่มน้ำหม่อน (Murus albs L.) สกัดผสมน้ำผึ้ง. วารสารวิชาการเกษตร 30(3): 274-289.
ธิดาวรรณ จงเกรียงไกร. 2557 .พฤติกรรมการบริโภคชาผลไม้โอชายะของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด. มหาวิทยาลัยศรีนครินทร-วิโรฒ. 164 หน้า.
ไพโรจน์ วิริยจารี. 2545. การทดสอบความชอบ หรือการยอมรับรวมของผู้บริโภค. การประเมินทางประสาทสัมผัส (Sensory Evaluation). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่. 412 หน้า.
สุจินดา ศรีวัฒนะ. 2548. แบบหุ่นจำลองและสูตรอาหารที่เหมาะสม (Modeling and Optimization for Food Formulation). อาหาร. 35: 168-176.
สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2552. มาตรฐานสินค้าเกษตร: ชาใบหม่อน มกษ. 3000 - 2552. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพ. 10 หน้า.
สำนักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม. 2552. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ชาใบหม่อน มผช 30/2556. กระทรวงอุตสาหกรรม. กรุงเทพ. 6 หน้า.
สำนักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม. 2546. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ชาใบหม่อน มผช 30/2546. กระทรวงอุตสาหกรรม. กรุงเทพ. 6 หน้า.
วันดี แสงสุวรรณ. 2549. กระบวนศึกษาการผลิตชาใบหม่อนผงสำเร็จรูป. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง, กรุงเทพ. 91 หน้า
ศิริลดา ไกรลมศม. 2558. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไส้กรอกกระเพราไก่ลดไขมันโดยใช้แป้งบุกร่วมกับแซนแทนกัม. วารสารเกษตร 31(1): 77-87.
ศุภาพิชญ์ ขัดทา. 2551. การพัฒนาชาชงผสมลำไย พุทราจีนและใบหม่อน. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 86 หน้า.
อรรวรรณ รักสงฆ์ ธีรพันธ์ บัญญัติรันต และชัยณรงค์ วิเศษนันท์. 2549. การผลิตชาคำฝอยเพื่อสุขภาพ. รายงานวิจัย มหาวิทยาลัยราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสิน. กาฬสิน. 12 หน้า
AOAC. 2005. Official Methods of the Associated of Official Analytical Chemists. 18th ed. Washington D. C. : The Association of Official Analytical Chemists (AOAC). 1074 p.
Euromonitor International. 2014. “Soft Drinks in Thailand”. August, 2013.
Fecka, I. and S. Turek. 2008. Determination of polyphenolic compounds in commercial herbal drugs and spices from Lamiaceae: thyme, wild thyme and sweet majoram by chromatographic techniques. Journal of Agricultural and Food Chemistry 108: 1039-1053.
Hu, R. 1999. Food Product Design: A Computer-Aided Statistical Approach. Technomic Publishing Co.,Ltd. Pennsylvenia, U.S.A. 225 p.
Larry, M. and T. P. James. 2001. Bacteriological Analytical Manual Chapter 3 Aerobic Plate Count. U.S. Food and Drug Administration. Center for Food Safety and Applied Nutrition, USA. Available : http://www.fda.gov/Food/FoodScienceResearch/LaboratoryMethods/ucm063346.htm. Accessed June 1, 2014.
Mahattanatawee, K., J. A. Manthey, G. Luzio, S. T. Talcott, K. Goodner and E. A. Baldwin. 2006. Total antioxidant activity and fiber content of select Florida-grown tropical fruits. Journal of Agricultural and Food Chemistry 54:7355-7363.
Ranganna, S. 1991. Handbook of Analysis and Quality Control for Fruits and vegetable Products. Tata McGraw Hill Publishing Company Limited, New Delhi.
Valerie, T., E. S. Michael, B. M. Philip, A. K. Herbert and B. Ruth. 2001. Bacteriological Analytical Manual Chapter 18 Yeasts, Molds and Mycotoxins. U.S. Food and Drug Administration. Center for Food Safety and Applied Nutrition, USA. Available : http://www.fda.gov/Food/FoodScienceResearch/LaboratoryMethods/ucm071435.htm. Accessed June 1, 2014.
Waterman, P. G. and S, Mole. 1994. Analysis of Phenolic plant metabolites. Methods in Ecology. Blackwell Scientific Publications, Oxford, Great Britain. 238 p.