การลดกลิ่นของทุเรียนโดยใช้น้ำมันหอมระเหย ที่กลั่นได้จากใบกะเพรา
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการลดกลิ่นของทุเรียนโดยใช้น้ำมันหอมระเหยที่ได้จากการสกัดใบกะเพรา โดยใช้น้ำเป็นตัวสกัด จากการทดลองพบว่า เมื่อใช้ใบกะเพราปริมาณ 30 กรัม ใช้น้ำในการกลั่น 300 ลูกบาศก์เซนติเมตร และอุณหภูมิในการกลั่น 100 องศาเซลเซียส สามารถกลั่นน้ำมันหอมระเหยออกมาได้ปริมาตรเท่ากับ 259 ลูกบาศก์เซนติเมตร ในเวลา 6 ชั่วโมง และเมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการลดกลิ่นของทุเรียนของน้ำมันหอมระเหยที่สกัดได้กับวิธีการแบบเดิมคือใช้กะเพรามาวางคลุมไว้ พบว่า น้ำมันหอมระเหยที่สกัดได้สามารถลดกลิ่นของทุเรียนได้ดีกว่า
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
กฤติกา นรจิตร. 2548. คุณสมบัติของสารสกัดจากพืชวงศ์ขิง: อิทธิพลของวิธีการสกัดต่อการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียและการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. 144 หน้า.
ธีรศิลป์ ชมแก้ว. 2551. การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากขิงด้วยวิธีการต้มกลั่นและกลั่นด้วยไอน้ำ. ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. 80 หน้า.
พีรศักดิ์ วรสุนทรโรสถ สุนทร ดุริยะประพันธ์ ทักษิณ อาชวาคม สายันต์ ตันพานิช ชลธิชา นิวาส-ประกฤติ และ ปรียานันท์ สรสูงเนิน. 2544. ทรัพยากรพืชในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 19 พืชให้น้ำหอม. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. 369 หน้า.
มาระตรี เปลี่ยนศิริชัย. 2548. การใช้สารระเหยจากใบพืชสมุนไพรไทยและพืชที่พบในท้องถิ่นในการดับกลิ่นทุเรียน. รายงานการวิจัย, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 69 หน้า.
ธีรศิลป์ ชมแก้ว. 2551. การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากขิงด้วยวิธีการต้มกลั่นและกลั่นด้วยไอน้ำ. ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. 80 หน้า.
พีรศักดิ์ วรสุนทรโรสถ สุนทร ดุริยะประพันธ์ ทักษิณ อาชวาคม สายันต์ ตันพานิช ชลธิชา นิวาส-ประกฤติ และ ปรียานันท์ สรสูงเนิน. 2544. ทรัพยากรพืชในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 19 พืชให้น้ำหอม. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. 369 หน้า.
มาระตรี เปลี่ยนศิริชัย. 2548. การใช้สารระเหยจากใบพืชสมุนไพรไทยและพืชที่พบในท้องถิ่นในการดับกลิ่นทุเรียน. รายงานการวิจัย, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 69 หน้า.