อายุการเก็บเกี่ยว และอายุการเก็บรักษาต่อคุณค่าทางโภชนาการบางประการของข้าวกล้องงอกสังข์หยดอินทรีย์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาอิทธิพลอายุการเก็บเกี่ยว และการเก็บรักษาต่อคุณค่าทางโภชนาการบางประการของข้าวกล้องงอกจากข้าวสังข์หยดอินทรีย์ โดยกําหนดอายุเก็บเกี่ยวเป็น 3 ระยะ คือ 30 37 และ 44 วัน หลังออกดอก ผลการทดลองเมื่อพิจารณาคุณค่าทางโภชนาการต่างๆคือ ปริมาณสาร GABA (gamma aminobutyric acid) วิตามินบี 1 ปริมาณโปรตีน ปริมาณฟลาโวนอยด์ และปริมาณสารฟีนอลิกของข้าวกล้องและข้าวกล้องงอก พบว่าเมื่อระยะเวลาเก็บเกี่ยวเพิ่มขึ้น ปริมาณโปรตีนของข้าวกล้องจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ส่วนสาร GABA ของข้าวกล้องงอกมีมากที่สุดที่ระยะเวลาเก็บรักษาเป็นเวลา 37 วัน และระยะเวลาการเก็บรักษามีผลต่อปริมาณวิตามินบี 1 เมื่อเปรียบเทียบกับคุณค่าอื่นๆซึ่งค่อนข้างคงที่ ผลการทดลองสรุปว่า อายุการเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษามีผลต่อคุณค่าทางโภชนาการของข้าวกล้องและข้าวกล้องงอกสังข์หยดพัทลุง
Article Details
References
เครือวัลย์ อัตตะวิริยะสุข. 2534. คุณภาพเมล็ดข้าวสารทางกายภาพและการแปรสภาพเมล็ด. ศูนย์วิจัยข้าว ปทุมธานี. สถาบันวิจัยข้าว กรมวิชาการเกษตร. 53 หน้า.
จุไรทิพย์ หวังสินทวีกุล. 2549. มหัศจรรย์ความเป็นข้าว. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. แหล่งที่มา: http://pc0g.pharmacy.psu.ac.th/thi/Article/2549/06-2549/rice.doc., 15 มกราคม 2553.
นวลศรี รักอริยะธรรม และอัญชนา เจนวิถีสุข. 2546. แอนติออกซิแดนท์สารต้านมะเร็วในผักสมุนไพรไทย. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 281 หน้า.
บริบูรณ์ สมฤทธิ์. 542. ข้าวแดงและมาตรการการปลูก. ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยี สถาบันวิจัยข้าว กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 30 หน้า.
ปรีชา เมียนเพชร. 2548. ข้าวสังข์หยด ข้าวสุขภาพ. เอกสารเผยแพร่ในการสัมมนาทางวิชาการเรื่องธุรกิจข้าวไทย อนาคตของคนรุ่นใหม่วันที่ 2-3 กุมภาพันธ์ 2548. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
เปรมฤดี ดำยศ สมพร ดำยศ กาญจนา ชูแสง และพรเพ็ญ ชาติกุล. 2551. ศึกษาการผลิตข้าวกล้องงอกสังข์หยด. ใน การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงาน งานทักษิณวิชาการ-งานเกษตรแฟร์ ครังที่ 4 “ ข้าวไทยคือชีวิต พลิกฟื้นเศรษฐกิจไทย” วันที่ 16-20 สิงหาคม 2551. คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณวิทยาเขตพัทลุง.
พีชยา จิระธรรมกิจกุล. 2541. ผลของสภาวะการเก็บรักษาต่อคุณภาพข้าวกล้อง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโทภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. 140 หน้า.
พัชรี ตั้งตระกูล. 2550. GABA ในคัพภะข้าวและข้าวกล้องงอก. วารสารอาหาร 37 (4): 291-296.
มูลนิธิข้าวไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. 2547. ข้าวขวัญของแผ่นดิน. อมรินทร์, กรุงเทพฯ. 136 หน้า.
เมธาวี อนะวัชกุล. 2551. การศึกษาปริมาณแกมมา-อะมิโนบิวทริก แอซิด ในข้าวกล้องมันปูงอกเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหาร. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัย นเรศวร, พิษณุโลก. 85 หน้า.
วันพรรษา ชุติปัญญา. 2549. การศึกษากิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระ ปริมาณฟีนอลิคทั้งหมด โทโคเฟอรอลและแกมม่า-ออไรซานอลของข้าวกล้องงอกสมุนไพร. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร, มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก. 105 หน้า.
วรนุช ศรีเจษฎารักข์. 2551. การผลิตสารประกอบชีวภาพจากข้าวกล้องงอก. รายงานฉบับสมบูรณ์ภาควิชา เทคโนโลยีอาหาร มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น. 91 หน้า
วรนุช ศรีเจษฎารักข์. 2553. การศึกษากระบวนการผลิตข้าวกาบาจากข้าวเปลือกพันธุ์สังข์หยด. ใน เอกสารการถ่ายทอดเทคโนโลยี วันที่ 17 มีนาคม 2553 ณ ศูนย์เกษตรกรรมธรรมชาติบางแก้ว, พัทลุง. 18 หน้า.
ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง, 2547. พันธุ์ข้าวสังข์หยด KGTC82239-2. ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง, พัทลุง.
สำเริง แซ่ตัน. 2548. ข้าวพันธุ์สังข์หยดพัทลุง. เอกสารเสนอในการสัมมนาโครงการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานวิจัยและพัฒนาของสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8. วันที่ 29-30 มีนาคม 2548 ณ โรงแรมบีพีแกรนด์ ทาวเวอร์, สงขลา.
สุดารัตน์ เจียมยั่งยืน. 2550. ผลของการงอกต่อสมบัติและการเปลี่ยนแปลงทางคุณค่าอาหารบางประการของข้าวกล้องหอมมะลิไทย. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก. 77 หน้า.
สุภาณี จงดี. 2551. การเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการข้าว (ข้าวกล้องงอก). ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรมโครงการเทคโนโลยีการผลิตพันธุ์ข้าวและผลิตภัณฑ์ในเชิงพาณิชย์ วันวันที่ 2-6 มิถุนายน 2551 ณ ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี. สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา, กรุงเทพฯ.
อรอนงค์ วินัยกุล. 2547. ข้าว : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 366 หน้า.
AOAC (Association of Official Analytical I Chemists). 1990. Official Methods of Analysis. Association of Official Analytical I Chemists, Arlington. VA. 1298 p.
Aoto, H. , T. Sugino, H. Shinmura, A. Mizukuchi, M. Kise, S. Teramoto, S. Someya, K. Tsuchiya and K. Ishiwata, 2002. Germinated brown rice. Pub. No.: US 2002/0031596 A1
Begley, P.T. 1996. The Biosynthesis and degradation of thiamin (vitaminB1). Natural Product Reports, pp. 177-185.
Bown, A., W, and B.J. Shelp. 1997. The metabolism and functions of gamma-aminobutyric acid. Plant physiol. 115 (1): 1-5.
Jia, Z., M. Tang, and J. Wu. 1999. The determination of flavonoid contents in mulberry and theirscarvenging effects on superoxide radicals. Food Chem. 64: 555-559.
Juliano, B.O., 1972. An international survey of method used for evaluation of the cooking and Eating qualities of milled rice. IRRI Research Paper Series No. 77 pp. 1-28.
Juliano, C., M. Cossu, M.C. Alamanni, and L. Piu. 2005. antioxidant activity of gamma-oryzanol : Mechanism of action and its effect on oxidative stability of pharmaceutical oils. Int. J. Pharm. 299: 146-154.
Kayahara, H., K. Tsukahara, and T. Tatai. 2000. Flavor, health and nutritional quality of pre-germinated brown rice. In 10th international flavor conference (pp. 546-551). Paros Greece.
Kim, S.Y., H.J. Park and S.J. Byun. 2004. Method for preparing germinated brown rice having Improved texture and cook ability without microbial contamination and Germinated brown rice obtained therefrom, Pub.No .: US 2004/0105921 AI.
Komatsuzaki, N., K. Tsukahara, H. Toyoshima, T. Suzuki, T. Suzuki, N. Shimizu, and T. Kimura 2005. Effect of soaking and gaseous treatment on GABA content in germinated brown rice. J. Food Eng. 78: 556-560.
Lea, P. J., S. A. Robinson, and G.R Steward. 1990. pp. 121-159. In B.J. Miflin and P.J. Lea (Eds.). The Biochemistry of Plants. Academic Pres, London.
Loreti, E., J., A. Yamaguchi, A. Alpi and P. Perata. 2003. Gibberellins are not required for rice germination under anoxia. Plant Soil 253: 137-143.
Shoichi, I. 2004. Marketing of value-add rice products in Japan: germinated brown rice and rice Bread. FAO rice conference, Italy.
Tian, S., K. Nakamura, and H. Kayahara. 2004. Analysis of phenolic compounds in white rice, brown rice and germinated brown rice. J. Agric. Food Chem. 52 (10): 4808-4813.
Yamada, K. and T. Kawasaki. 1980. Properties of the thiamine transport system in Escherichia coli. J. Bacteriol. 141: 254-261.
Zhang, L., P. Hu, S.Tang, H. Zhao and D. Wu. 2005. Comparative studies on major nutritional components of rice with against embryo and normal embryo. J. Food Biochem. 29: 653-661.