น้ำยาสกัดที่เหมาะสมเพื่อการเกิดรูปแบบไอโซไซม์ ของกล้วยไม้ดินใบจีบบางชนิด

Main Article Content

สุทธินันท์ ประสาธน์สุวรรณ์
พิมพ์ใจ อาภาวัชรุตม์

บทคัดย่อ

การศึกษาน้ำยาสกัด 4 สูตรคือ น้ำยาสกัดของ Gottlieb et al., Apavatjrut et al., Obera-Okeyo et al.  และ Sharma & Jones เพื่อทำให้เกิดรูปแบบไอโซไซม์ของกล้วยไม้ดินใบจีบ 10 ชนิด ใน 6 สกุล โดยวิธีโพลีอคริลาไมด์เจลอิเล็กโทรโฟรีซีส จากการใช้ส่วนของใบอ่อน 0.5 กรัม กับน้ำยาสกัด 1.5 มิลลิลิตร และใช้ 10 % separating gel ทดสอบกับเอนไซม์ 4 ชนิดคือ Esterase (EST), Glutamate oxaloacetate transaminase (GOT), Leucine amino peptidase (LAP) และ Shikimate dehydrogenase (SKD) พบว่าน้ำยาสกัดของ Apavatjrut et al. ให้ผลดีที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กัลยา ปานคง. 2546. สัณฐานวิทยาและรูปแบบไอโซไซม์ของพืชสกุลหงส์เหิน. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัย เชียงใหม่, เชียงใหม่. 150 หน้า.

พสุ สกุลอารีวัฒนา. 2546. สัณฐานวิทยาและรูปแบบไอโซไซม์ของพืชสกุลรองเท้านารีของไทย .วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 107 หน้า.

สุรินทร์ ปิยะโชคคณากุล. 2543. พันธุวิศวกรรมเบื้องต้น. ภาควิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 282 หน้า.

อบฉันท์ ไทยทอง. 2544. กล้วยไม้เมืองไทย. สำนักพิมพ์บ้านและสวน. กรุงเทพฯ. 461 หน้า.

Agarwal, S., A.K. Nath and D.R. Sharma. 2001. Characterization of peach (Prunus persica L.) cultivars using isozyme as molecular marker. Sci. Hort. 90: 227-242.

Apavatjrut, P., S. Anuntalabhochai, P. Sirirugsa and C. Alisi. 1999. Molecular markers in the identification of some early flowering Curcuma L. (Zingiberaceae) species. Annals of Botany 84: 529-534.

Gottlieb, L.D. 1981. Electrophoretic evidence and plant populations. Prog. Phytochem. 7: 1-46.

Michaud, D. and A. Asselin. 1995. Application to plant proteins of gel electrophoretic methods. Chromatography 698: 263-279.

Obera-Okeyo, P., K. Fuji and S. Kako. 1997. Enzyme polymorphism in Cymbidium orchid cultivars and inheritance of leucine aminopeptidase. HortScience 32(7): 1267-1271.

Sharma, I.K. and D.L. Jones. 1999. Characterization of natural hybrids between Pterostylis alveata Garnet and Pterostylis ophioglossa R. Br. (Orchidaceae) by starch gel electrophoresis. Biochem. Syst. Ecol. 27(5): 499-505

Vyas, D., S.K. Sharma and O.R. Sharma. 2003. Genetic structure of walnut genotype using leaf isozyme as variability measure. Sci. Hort. 97: 141-152.