การขยายพันธุ์หม้อข้าวหม้อแกงลิงในสภาพปลอดเชื้อ

Main Article Content

อำพร ขุมดินพิทักษ์
อดิศร กระแสชัย
ธีรพล พรสวัสดิ์ชัย

บทคัดย่อ

การขยายพันธุ์หม้อข้าวหม้อแกงลิงโดยการเพาะเมล็ดในสภาพปลอดเชื้อ พบว่า เมล็ดสามารถงอกและ   เจริญเติบโตในอาหาร Vacin and Went (1949) ดัดแปลง และ Half -MS การทำ Scarification โดยการเจาะปลายเมล็ด   ช่วยให้เมล็ดงอกได้เร็ว และมีเปอร์เซ็นต์การรอดชีวิตสูง ส่วนการขยายพันธุ์โดยใช้เนื้อเยื่อพบว่า การใช้ส่วนยอดที่เลี้ยงบนอาหาร Murashige and Skoog (1962) ที่เติม BAP ความเข้มข้น 0.5 มก/ล สามารถสร้างยอดใหม่ที่สมบูรณ์ได้เป็นจำนวนมากที่สุด และยอดที่เกิดขึ้นสามารถชักนำให้ออกรากได้ดีบนอาหาร Half-MS ที่มี IBA ความเข้มข้น 0.1 มก/ล

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ธีรพล พรสวัสดิ์ชัย. 2545. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อการขยายพันธุ์ต้นสันโศก. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 34 น.
ประทุมพร กันทพนม. 2538. ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีต่อการตอน การปักชำ และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อประยงค์. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 142 น.
James, A. D. and W. Patricia. 1996. Carnivorous Plant of the World. Timber Press, Inc., Hong Kong. 206 p.
Scott, B. J. and A.D. Robson. 1990. Distribution of magnesium in subterranean clover in relation to suppey. Aust. J. Agric. Res. 41 : 499-510
Walker, R. 2000. “Tissue culture in the Home Kitchen’’.The Carnivorous plant tissue culture. [online]. Available http://www2.labs.agilent.com/botany/cp/slides/tc/tc.htm (28 October 2001).