การจำแนกกล้วยไม้ไทยสกุลหวายโดยใช้เทคนิคอาร์เอพีดี

Main Article Content

ศิริลักษณ์ อินทะวงศ์
วีณัน บัณฑิตย์
ณัฐา ควรประเสริฐ

บทคัดย่อ

ดีเอ็นเอของกล้วยไม้ไทยสกุลหวายจำนวน 12 ชนิด จาก 3 หมู่ (sections) คือ หมู่ Callista; Den. chrysotoxum (D026) and Den. lindleyi (D122), หมู่ Dendrobium; Den. crystallinum (D044), Den. findlayanum (D030), Den. nobile (D031), Den. parishii (D040) และ Den. unicum (D015) และ หมู่ Formosae; Den. cruentum (D121), Den. draconis (D022), Den. formosum (D074), Den. infundibulum (D034) และ Den. scabrilingue (D012) ไปเพิ่มปริมาณในปฏิกิริยาพีซีอาร์ โดยใช้ไพรเมอร์ขนาด 10 นิวคลิโอไทด์ คือ OPAK04 และ OPD01-09  พบว่า มีไพรเมอร์ OPD03 เท่านั้นที่สามารถสังเคราะห์ลายพิมพ์ดีเอ็นเอที่แสดงความแตกต่างกันในกล้วยไม้ทั้ง 12 ชนิดได้ แต่เมื่อนำข้อมูลการปรากฏแถบ  ดีเอ็นเอมาวิเคราะห์เพื่อหาความสัมพันธ์ด้วยวิธี cluster analysis พบว่า ไม่สามารถจัดกลุ่มกล้วยไม้ออกตามหมู่ได้ ส่วน ไพรเมอร์ OPAK04 แสดงลายพิมพ์ดีเอ็นเอของ D034 และ D044 แตกต่างออกไปจากกล้วยไม้ชนิดอื่น

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จุลภาค คุ้นวงศ์. 2543. ความจำเป็นของลายพิมพ์ดี-เอ็นเอกับการจดทะเบียนพันธุ์พืช.วารสารเคหการเกษตร 24(5) : 174-176.
นพพร สายัมพล. 2543. เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์พืช. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 261 น.
พรพันธ์ ภู่พร้อมพันธุ์. 2538. เทคนิคการจำแนกพันธุ์ พืชด้วยวิธี Random Amplified Polymorphic DNA (RAPD). เอกสารประกอบการอบรมทางวิชาการ เรื่อง การตรวจแยกพันธุ์พืชด้วยการใช้เทคนิค Isozyme Pattern และ RAPD ณ ฝ่าย ปฏิบัติงานวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งชาติ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสาตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม. 10 น.
สมวงษ์ ตระกูลรุ่ง. 2543. การประยุกต์ใช้ DNA เทคโนโลยีในประเทศไทย ใน เอกสารประกอบสัมมนาวิชาการปรับปรุงพันธุ์ และขยายพันธุ์พืช ครั้งที่ 13 : เทคโนโลยีใหม่–พันธุ์พืชใหม่ น. 90-93. สมาคมปรับปรุงพันธุ์ และขยายพันธุ์พืชแห่งประเทศไทย กรมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีแห่งชาติ.
อบฉันท์ ไทยทอง. 2543. กล้วยไม้เมืองไทย. หน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 166 น.
Baker, L. M. and C. O. Baker. 1996. Orchid Species Culture Dendrobium. Timber Press, Portland, Oregon. 852 p.
Chen, W. H., T. M. Chen., Y. M. Fu, R. M. Hsieh and W. S. Chen. 1998. Studies on somaclonal variation in Phalaenopsis. Plant Cell Reports 18: 7-13.
Doyle, L. J. and J. J. Doyle. 1990. Isolation of plant DNA from fresh tissue. Focus 12: 13-14.
Ranamukhaarachchi, D. G., R. J. Henny, C. L. Guy and Q. B. Li. 2001. DNA fingerprinting to identify nine Anthurium pot plant cultivars and examine their relationship. HortScience 36: 758-760.
Seidenfaden, G. and T. Smitinand. 1960. The Orchids of Thailand. Part 2. The Siam Society, Bangkok. 184 p.
Sharifani, M. M. and J. F. Jackson. 2000. Characterization of pear species and cultivars using RAPD primers. Acta Horticulturae 538: 499-504.