ผลของการตัดแต่งช่อดอกต่อการติดผล คุณภาพของผล และผลผลิตของลิ้นจี่พันธุ์ฮงฮวย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การตัดแต่งโดยการตัดปลายช่อดอกออกประมาณ 1/3 ของความยาวช่อดอกในระยะก่อนดอกบานในลิ้นจี่พันธุ์ฮงฮวย อายุ 6 ปี ณ สวนของเกษตรกร หมู่บ้านบวกจั่น อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ช่อดอกที่ได้รับการตัด แต่งปลายช่อดอกมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญกับช่อดอกที่ไม่ได้รับการตัดแต่งปลายช่อดอก มีความยาวของก้านช่อดอกย่อยที่โคนช่อ น้ำหนักผล น้ำหนักเมล็ด น้ำหนักเปลือก น้ำหนักเนื้อ น้ำหนักรวมทั้งหมดต่อช่อ และจำนวนผลที่ เก็บเกี่ยวได้ต่อช่อมากกว่า ส่วนลักษณะที่ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญได้แก่ จำนวนดอกรวม ดอกเพศผู้ ดอก เพศเมีย และดอกสมบูรณ์เพศ เปอร์เซ็นต์การติดผล เปอร์เซ็นต์การร่วงของผล ปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่ไม่ใช่โครงสร้าง (total nonstructural carbohydrate; TNC) ในใบและในช่อดอก เปอร์เซ็นต์ส่วนที่รับประทานได้ (edible portion) ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำได้ (total soluble solids; TSS) และปริมาณกรดที่ไตเตรตได้ (titratable acidity; TA)
Article Details
References
ชัยฤทธิ์ ยุติธรรม. 2542. การศึกษาฟีโนโลจีการออกดอกของลิ้นจี่พันธุ์ฮงฮวย และพันธุ์จักรพรรดิในเขต ที่สูงของจังหวัดเชียงใหม่. ปัญหาพิเศษ สาขาไม้ผล ภาควิชาพืชสวน คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่. 16 น.
ธนิตย์ ทองเพ็ง. 2542. ผลของ GA3 ต่อการติดผลและผลผลิตของลิ้นจี่พันธุ์ฮงฮวย. ปัญหาพิเศษ สาขาไม้ผล ภาควิชาพืชสวน คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่. 19 น.
นิตย์ ศกุนรักษ์. 2541. สรีรวิทยาของพืช. ภาควิชาพืชไร่ คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่. 237 น.
นิอามัด สาเมาะ. 2542. ผลของ NAA ต่อการติดผลและผล ผลิตของลิ้นจี่พันธุ์ฮงฮวย. ปัญหาพิเศษ สาขาไม้ผล ภาควิชาพืชสวน คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่. 22 น.
รวี เสรฐภักดี.2540. การติดผลและการเจริญเติบโตของลิ้นจี่และลำไย. หน้า 43-65. ใน เอกสารการฝึกอบรมหลักสูตรเทคโนโลยียุคใหม่ในการผลิตลิ้นจี่และลำไย. ณ โรงแรมเชียงใหม่ออคิด จังหวัดเชียงใหม่ จัดโดยสำนักส่งเสริมและฝึกอบรม และศูนย์วิจัยและพัฒนาไม้ผลเขตร้อนและกึ่งร้อน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ศรีมูล บุญรัตน์. 2527. การปลูกลิ้นจี่ เล่ม 1. สถานีทดลองพืชสวนฝาง จ.เชียงใหม่. สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ. 88 น.
สัมพันธ์ คัมภิรานนท์. 2529. หลักสรีรวิทยาของพืช. ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 330 น.
Chaitrakulsub. T., P. Chaidate and H. Gemma. 1988. Study on fruit development of Litchi chinensis Sonn. cv.‘Hong Huay’. Japan. J. of Trop. Agri. 32 (4) : 201-207.
Davis, T.T. and D. Sparks. 1974. Assimilation and translocation pattern of carbon 14 in the shoot of fruiting pecan trees Carya illinoesis Koch. J. Amer. Soc. Hort. Sci. 99 (5) : 468-480.
Degani, C., R.A. Stern, R. El-Batsri and S. Gazit. 1995. Pollen parent effect on the selective abscission of Mauritius' and 'Floridian' lychee fruitlets. J. Amer. Soc. Hort. Sci. 120 : 523-526.
Ho,L.C.1988. Metabolism and compartmentation of imported sugars in sink organs in relation to sink strength. Annu. Rev. Plant Physio. Plant Mol. Biol. 39:355-378
Menzel, C.M. 1984. The pattern and control of reproductive development in lychee : A review. Scientia Hort. 22 : 333-345.
Menzel, C.M.,T.S. Rasmussen and D.R.Simpson. 1995. Carbohydrate reserves in lychee trees (Litchi chinensis Sonn.). J. Hort. Sci. 70 : 245-255.
Stern, R.A. and S. Gazit. 1997. Effect of 3,5,6-trichloro-2-pyridyl-oxyacetic acid on fruitlet abscission and yield of ‘Mauritius’ litchi (Litchi chinensis Sonn.) J. Hort. Sci. 72:659 - 663.
Stern, R.A., J. Kigel, E. Tomer and S. Gazit. 1995. ‘Mauritius’ lychee fruit development and reduced abscission after treatment with the auxin 2,4,5-TP. J. Amer. Soc. Hort. Sci. 120 : 65 – 70.
Wu,D., K.Lin, Q.Ye. and W. Wang. 2000. Improvement of fruit set in secondary panicles of ‘Feizixiao’ Litchi by removal of the primary panicles. First International Symposium on Litchi & Longan. China. Program & Abstracts. 1 : 42
Zhang, K. R. Guo and Z. Zhang. 1988. Effect of plant growth regulators on fruit set in litchi. J. Fujian Agric. College 17(1):54-61.