ปัจจัยที่เหมาะสมสำหรับการศึกษารูปแบบไอโซไซม์ ของหงส์เหินช่อทับทิม

Main Article Content

กัลยา ปานคง
พิมพ์ใจ อาภาวัชรุตม์

บทคัดย่อ

การศึกษาปัจจัยที่เหมาะสมสำหรับการทำให้เกิดรูปแบบไอโซไซม์ของหงส์เหินช่อทับทิม (Globba rosea Gagnep.) ด้วยวิธีโพลีอคริลาไมด์เจลอิเล็กโตรโฟรีซีส พบว่าการใช้ใบอ่อน 0.5 ก กับน้ำยาสกัดที่มีส่วนประกอบของ 0.1 M Tris-HCl pH 8, 1 mM EDTA, 0.5 % w/v PVP 360, 2 mM DTT, 10 mM b-mercaptoethanol และการใช้ separating gel 12.5 % ให้ผลดีที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ณัฐา ควรประเสริฐ ศิวาพร ธรรมดี และ วีณัน บัณฑิตย์. 2545. การปรับปรุงพันธุ์พืชสวน. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, น.120-129.
พวงเพ็ญ ศิริรักษ์. 2539. พืชวงศ์ขิง-ข่าในประเทศไทย (Zingiberaceae in Thailand). การประชุมวิชาการทางพฤกษศาสตร์เรื่อง “ทรัพยากรของเชิงเขาหิมาลัย” องค์การสวนพฤกษศาสตร์ สำนักนายกรัฐมนตรี 18-19 พฤศจิกายน ณ สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ และโรงแรมฮอลิเดย์อินน์ เชียงใหม่. น.167-175.
อดิศร กระแสชัย. 2541. การรวบรวมพืชพื้นถิ่นเพื่อพัฒนาเป็นไม้ดอกไม้ประดับ. รายงานผลการวิจัย ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่, เชียงใหม่. น. 24-35.
อาภัสสรา ชมิดท์. 2534. เทคนิคอิเล็กโตรโฟรีซิส. คณะสัตวแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 85 น.
Apavatjrut, P., S. Anuntalabhochai, P. Sirirugsa and C. Alisi. 1999. Molecular marker in the identification of some early flowering Curcuma L.(Zingiberaceae) species. Ann. Bot. 84: 529-534.
Williams, K. J., W. J. Kress and P. S. Manos. 2002. Systematics of the genus Globba L.(Zingiberaceae). 3rd Symposium of the Family Zingiberaceae. Khon Kaen University, Khon Kaen. p. 15.