ผลของอุณหภูมิสูงต่อการลดอาการสะท้านหนาวของผลลำไยพันธุ์ดอ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาผลของน้ำร้อนต่อการลดอาการสะท้านหนาวของผลลำไยพันธุ์ดอ โดยนำผลลำไยมาแช่ในน้ำร้อนที่อุณหภูมิ 40, 45 และ 50 องศาเซลเซียส นาน 5 นาที แล้วเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 1 องศาเซลเซียสนาน 5 วัน ผลการทดลองแสดงว่าการใช้น้ำร้อนไม่สามารถลดอาการสะท้านหนาวของผลลำไยได้และน้ำร้อนอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียสยังมีผลทำให้สีเปลือกด้านนอกและด้านในมีสีเข้ม มีการรั่วไหลของสารอีเล็กโตรไลต์ของเปลือกและเนื้อผลลำไยเท่ากับ 17.47 และ 49.01% ตามลำดับ การสูญเสียน้ำหนักเท่ากับ 5.14% น้ำร้อนไม่มีผลต่อระดับการเน่าเสีย การเกิดกลิ่นและรสชาติ
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
จริงแท้ ศิริพานิช. 2542. สรีรวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้. พิมพ์ครั้งที่ 3 สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 396 น.
ดนัย บุณยเกียรติ, 2540. สรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 225 น.
ดนัย บุณยเกียรติ นิธิยา รัตนาปนนท์และทองใหม่ แพทย์ไชโย. 2543. การเก็บรักษาลำไยที่อุณหภูมิต่ำ. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 63 น.
ธเนศวร์ สระแก้ว. 2541. ผลของความร้อนต่ออาการสะท้านหนาวของผลมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 125 น.
พาวิน มะโนชัย. 2543. ลำไย. สาขาไม้ผล ภาควิชาพืชสวน คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่. 155 น.
เพชรดา อยู่สุข. 2540. ผลของการใช้ความร้อนและสารละลายแคลเซียมต่ออาการสะท้านหนาวในพริกหวาน. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เชียงใหม่ 118 น.
Chan, H.T. and E. Linse. 1989. Conditioning cucumbers for quarantine heat treatments. HortScience. 24: 985-989.
King, M.M. and P.M. Ludford. 1983. Chilling injury and electrolyte leakage in fruit of different tomato cultivars. J. Amer. Soc. Hort. Sci. 108(1): 74-77.
Lurie, S. 1998. Postharvest heat treatment. Post. Bio. And Tech. 14: 257-269.
Paull, R.E. and N.J. Chen. 1987. Changes in longan and rambutan during postharvest storage. HortScience 22: 1303-1304.
Wang, C.Y. 1990. Chilling Injury of Horticultural Crops. CRC Press Inc., Boca Raton Florida. 313 p.
ดนัย บุณยเกียรติ, 2540. สรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 225 น.
ดนัย บุณยเกียรติ นิธิยา รัตนาปนนท์และทองใหม่ แพทย์ไชโย. 2543. การเก็บรักษาลำไยที่อุณหภูมิต่ำ. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 63 น.
ธเนศวร์ สระแก้ว. 2541. ผลของความร้อนต่ออาการสะท้านหนาวของผลมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 125 น.
พาวิน มะโนชัย. 2543. ลำไย. สาขาไม้ผล ภาควิชาพืชสวน คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่. 155 น.
เพชรดา อยู่สุข. 2540. ผลของการใช้ความร้อนและสารละลายแคลเซียมต่ออาการสะท้านหนาวในพริกหวาน. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เชียงใหม่ 118 น.
Chan, H.T. and E. Linse. 1989. Conditioning cucumbers for quarantine heat treatments. HortScience. 24: 985-989.
King, M.M. and P.M. Ludford. 1983. Chilling injury and electrolyte leakage in fruit of different tomato cultivars. J. Amer. Soc. Hort. Sci. 108(1): 74-77.
Lurie, S. 1998. Postharvest heat treatment. Post. Bio. And Tech. 14: 257-269.
Paull, R.E. and N.J. Chen. 1987. Changes in longan and rambutan during postharvest storage. HortScience 22: 1303-1304.
Wang, C.Y. 1990. Chilling Injury of Horticultural Crops. CRC Press Inc., Boca Raton Florida. 313 p.