งานวิจัยกับการเสริมสร้างศักยภาพการแข่งขันของประเทศ

ถ้ามองย้อนหลังไป 3 -5 ปี คำว่า "การขาดแคลนงบประมาณวิจัย" หรือ "รัฐบาลไม่จริงใจในการสนับสนุนการวิจัย ดูเหมือนจะเป็นคำยอดฮิตที่ถูกยกขึ้นมาพูดโดยนักวิชาการและนักวิจัย เมื่อมีโอกาสได้พูดถึงเรื่องนี้ในเวทีต่างๆ และได้กลายเป็นข้อกล่าวอ้างเพื่อยืนยันว่า นักวิจัยไม่ผิด แต่รัฐบาลหรือผู้มีอำนาจทั้งหลายต่างหากที่ผิด เพราะไม่ให้เงินทำวิจัยอย่างเพียงพอ จนทำให้ผลการวิจัยที่ได้ขาดคุณภาพ ไม่สามารถตอบคำถามในเชิงปฏิบัติ ไม่ส่งผลในเชิงพัฒนาตามที่ภาคเอกชนต้องการ ได

ในปีหลังๆ มานี้ รัฐบาลได้กำหนดงบประมาณจำนวนมากเพื่อสนับสนุนการวิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานวิจัยเชิงบูรณาการที่มีโจทย์และเงื่อนไขหลักเพียง 2 ประการ คือ ต้องเป็นชุดโครงการที่ทำงาน เชิงสหสาขาวิชา ถ้าเป็นไปได้ต้องเป็นสหสถาบันและเป็น Value Cha และเงื่อนไขที่สองคือต้องมีเป้าหมายของโครงการวิจัยชัดเจนในด้นกลุ่มเป้าหมายของผู้ใช้ประโยชน์ และมีความชัดเจนในด้านการพัฒนาเทคโนโลยีที่เสริมสร้างศักยภาพการแข่งขันและการส่งสินค้ำออกของประเทศ ทั้งนี้ โดยมีวงเงินไม่จำกัด รวมอย่างน้อย 500 - 1,000 ล้านบาทต่อปี

หลังจากประเทศให้ทุนวิจัยดังกล่าวไปเกือบ ปี (ธันวาคม 2546) ปังจุบันมีโครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณแล้วไม่ถึง 5 โครงการ วงเงินไม่ถึง 100 ล้านบาท

ปัญหาอยู่ที่ไหน การขาดแคลนงบประมาณวิจัยไม่น่าจะเป็นปัญหาอีกต่อไป แต่น่าจะเป็นที่ตัวนักวิจัยมากกว่า ความเคยชินในการทำงานเป็นเอกทศตามนิสัยคนไทย การขาดประสบการณ์ในการทำงานเป็นทีม การขาดแคลนผู้นำในการประสานชุดโครงการวิจัย การบาดวิธีคิดเชิงระบบเพื่อมุ่งสู่เป้าหมายหนึ่งเดียว (Value Cha) หรือการขาด... ล้วนเป็นเรื่องน่าคิดทั้งสิ้น และเรื่องเหล่นี้ล้วนท้าทายการพัฒนาทั้งสำหรับหน่วยงานแลการวิจัยของประเทศในการกำหนดการพัฒนาบุคลากรวิจัยของประเทศรวมทั้งทำทายนักวิจัยเองในการที่จะพัฒนาตนเองไปในอนาคต

ดูเหมือนว่า เราจะต้องมาช่วยกันวิจัยตัวเองให้ได้เสียก่อน จึงค่อยไปช่วยเสริมสร้างศักยภาพการแข่งขันของประเทศ ซึ่งถ้ำเป็นเช่นนี้จริงเราคงไม่มีเวลามากนัก ในอันที่จะรักบาดวามเป็นเลิศด้านการวิจัย เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบนที่กำลังเร่งตนองให้แซงหน้าประเทศไทยให้ได้

เผยแพร่แล้ว: 2020-09-25

การขาดธาตุอาหารในหงส์เหิน

วัชรพล บำเพ็ญอยู่, โสระยา ร่วมรังษี

116-124

เปรียบเทียบการตอบสนองต่อการขาดธาตุโบรอนในข้าวบาร์เลย์และข้าวสาลี

จำเนียร วงษ์โม้, ศันสนีย์ จำจด , เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม

125-133

ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของหงส์เหินชนิด Globba winitii Gagnep.

วีระอนงค์ คำศิริ, ฉันทนา สุวรรณธาดา

134-141

การใช้ถั่วเขียวเป็นปุ๋ยพืชสดที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวจาปอนิก้า

สมเกียรติ วัดเกวิกรานต์, เฉลิมพล แซมเพชร , สุชาติ จิรพรเจริญ

142-152

ผลของวัสดุปลูกต่อการเติบโตและผลผลิตของดอกดาวเรือง

อรรณพ คณาเจริญพงษ์, อรวรรณ ฉัตรสีรุ้ง, สุรเทพ เทพลิขิตกุล, ใจศิลป์ ก้อนใจ , สมพร ชุนห์ลือชานนท์

153-159