การใช้เถ้าลิกไนต์เป็นวัสดุปักชำ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาวัสดุปักชำ 5 ชนิด คือทรายหยาบ + ขี้เถ้าแกลบ, เถ้าลิกไนต์, เถ้าลิกไนต์ + ขี้เถ้าแกลบ, เถ้าลิกไนต์ + ทรายหยาบ และเถ้าลิกไนต์ + ขุยมะพร้าว พบว่ากิ่งชำเบญจมาศและคาร์เนชั่นที่ชำในเถ้าลิกไนต์ + ขุยมะพร้าว ให้กิ่งชำที่มีความยาวและจำนวนรากมากที่สุด ในเบญจมาศ ทรายหยาบ + ขี้เถ้าแกลบ ให้จำนวนรากและความยาวรากน้อยที่สุด ส่วนเถ้าลิกไนต์, เถ้าลิกไนต์ + ขี้เถ้าแกลบและทรายหยาบ + ขี้เถ้าแกลบ ให้กิ่งชำที่มีรากสั้น ทรายหยาบ + ขี้เถ้าแกลบ และเถ้าลิกไนต์ + ทรายหยาบ ให้จำนวนรากน้อยที่สุดในคาร์เนชั่น
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
นันทิยา สมานนท์. 2533. คาร์เนชัน. พิมพ์ครั้งที่ 1 สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพมหานคร. 198 หน้า.
นันทิยา สมานนท์. 2535. คู่มือการปลูกไม้ดอก. พิมพ์ครั้งที่ 3 โอเอสพริ้นติ้งเฮ้าส์, กรุงเทพมหานคร. 206 หน้า. นันทิยา สมานนท์. 2538. การขยายพันธุ์พืช. พิมพ์ครั้งที่ 2 สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพมหานคร.447 หน้า.
บุญสิทธิ์ จันทร์หอม. 2529. การศึกษาการใช้ประโยชน์ของเถ้าชนิดเบาจากถ่านลิกไนต์ เพื่อทำคริงเกอร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 121 หน้า.
ปรีชา สุภา. 2530. การเปรียบเทียบวัสดุชเบญจมาศปัญหาพิเศษปริญญาตรี ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียใหม่, เชียงใหม่. 37 หน้า.
ไพฑูรย์ รอดวินิจ. 2541. หลักเศรษฐศาสตร์. ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 37 หน้า.
ยงยุทธ์ โอสถสภา, ศุภมาศ พนิชศักดิ์พัฒนา, อรรถศิษฐ์ วงศ์มณีโรจน์ และชัยสิทธิ์ ทองจู. 2541. ปฐพีวิทยาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 8. ภาควิชาปฐพีศาสตร์ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 547 หน้า.
วิจิตอัจฉรา สรรพิจจำนง, ธนศักดิ์ ไป่กระโกและบุญเลิศ พัดฉลี. 2536. เถ้าลอยในงานทาง. รายงานครั้งที่ 131 ศูนย์วิจัยและพัฒนางานทาง, กรมทางหลวง. 33 หน้า.
วีระชัย เปรมโยธิน และสายสุนีย์ เหลี่ยงเรืองรัตน์. 2529. รายงานวิจัยเรื่องการใช้เถ้าเบาให้เป็นประโยชน์ในอุตสาหกรรมซีเมนต์.
สมเกียรติ แก้วจำรัสสุขสันติ. 2527. การศึกษาการใช้ประโยชน์ของเถ้าชนิดเบาของถ่านหินลิกไนต์เพื่อทำอิฐและคอนกรีต. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
อดิศร กระแสชัย. 2535. เบญจมาศ. พิมพ์ครั้งที่ 1 โอเอส พริ้นติ้งเฮ้าส์, กรุงเทพมหานคร. 129 หน้า.
อรษา แสงอุทัย. 2527. การขยายพันธุ์พืช. พิมพ์ครั้งที่ 1 ภาควิชาชีววิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,กรุงเทพมหานคร. 195 หน้า.
อุทัยวรรณ มีพฤกษ์. 2529. การวิเคราะห์ธาตุที่มีปริมาณน้อยและน้อยมากบางชนิดในเถ้าเบาถ่านหินลิกไนต์. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 98 หน้า.
Burki, R.A., I. Muhammud and A. Mukhtar. 1998. Studies on rooting of Cestrum nocturmum cutting as affected by different soil media and irrigation intervals. Hort. Abstract. 6(8): 930.
Wook, O., K. Kim and Y.K. Tii, 1998. Effects of air filled porosity of rooting media on rooting and growth of chrysanthemum cutting. Hort. Abstract. 68(8): 914.
Rahman, S. and I. Muhammud. 1998. Response of Jasminum officinals cutting to different soil media. Hort. Abstract. 68(1): 82.
นันทิยา สมานนท์. 2535. คู่มือการปลูกไม้ดอก. พิมพ์ครั้งที่ 3 โอเอสพริ้นติ้งเฮ้าส์, กรุงเทพมหานคร. 206 หน้า. นันทิยา สมานนท์. 2538. การขยายพันธุ์พืช. พิมพ์ครั้งที่ 2 สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพมหานคร.447 หน้า.
บุญสิทธิ์ จันทร์หอม. 2529. การศึกษาการใช้ประโยชน์ของเถ้าชนิดเบาจากถ่านลิกไนต์ เพื่อทำคริงเกอร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 121 หน้า.
ปรีชา สุภา. 2530. การเปรียบเทียบวัสดุชเบญจมาศปัญหาพิเศษปริญญาตรี ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียใหม่, เชียงใหม่. 37 หน้า.
ไพฑูรย์ รอดวินิจ. 2541. หลักเศรษฐศาสตร์. ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 37 หน้า.
ยงยุทธ์ โอสถสภา, ศุภมาศ พนิชศักดิ์พัฒนา, อรรถศิษฐ์ วงศ์มณีโรจน์ และชัยสิทธิ์ ทองจู. 2541. ปฐพีวิทยาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 8. ภาควิชาปฐพีศาสตร์ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 547 หน้า.
วิจิตอัจฉรา สรรพิจจำนง, ธนศักดิ์ ไป่กระโกและบุญเลิศ พัดฉลี. 2536. เถ้าลอยในงานทาง. รายงานครั้งที่ 131 ศูนย์วิจัยและพัฒนางานทาง, กรมทางหลวง. 33 หน้า.
วีระชัย เปรมโยธิน และสายสุนีย์ เหลี่ยงเรืองรัตน์. 2529. รายงานวิจัยเรื่องการใช้เถ้าเบาให้เป็นประโยชน์ในอุตสาหกรรมซีเมนต์.
สมเกียรติ แก้วจำรัสสุขสันติ. 2527. การศึกษาการใช้ประโยชน์ของเถ้าชนิดเบาของถ่านหินลิกไนต์เพื่อทำอิฐและคอนกรีต. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
อดิศร กระแสชัย. 2535. เบญจมาศ. พิมพ์ครั้งที่ 1 โอเอส พริ้นติ้งเฮ้าส์, กรุงเทพมหานคร. 129 หน้า.
อรษา แสงอุทัย. 2527. การขยายพันธุ์พืช. พิมพ์ครั้งที่ 1 ภาควิชาชีววิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,กรุงเทพมหานคร. 195 หน้า.
อุทัยวรรณ มีพฤกษ์. 2529. การวิเคราะห์ธาตุที่มีปริมาณน้อยและน้อยมากบางชนิดในเถ้าเบาถ่านหินลิกไนต์. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 98 หน้า.
Burki, R.A., I. Muhammud and A. Mukhtar. 1998. Studies on rooting of Cestrum nocturmum cutting as affected by different soil media and irrigation intervals. Hort. Abstract. 6(8): 930.
Wook, O., K. Kim and Y.K. Tii, 1998. Effects of air filled porosity of rooting media on rooting and growth of chrysanthemum cutting. Hort. Abstract. 68(8): 914.
Rahman, S. and I. Muhammud. 1998. Response of Jasminum officinals cutting to different soil media. Hort. Abstract. 68(1): 82.