ข้อสังเกตการปนเปื้อนของสารพิษจากเชื้อราในลูกเดือยที่พบในประเทศไทย

Main Article Content

นพาภรณ์ ปัญจะ
ดวงจันทร์ สุประเสริฐ
ทัศนีย์ จุฬามกรกต

บทคัดย่อ

ได้ทำการศึกษาปริมาณสารพิษจากเชื้อรา 6 ชนิดด้วยวิธี Elisa test kit  ได้แก่ aflatoxin, ochratoxin, zearalenone,T2-toxin,fumonisin และdeoxynivalenol (vomitoxin) ที่ปนเปื้อนในลูกเดือยซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์อาหารเสริมจากธัญพืชธรรมชาติ 9 ชนิดของผลิตภัณฑ์ R.C. (rejuvenating concoction) ซึ่งกำลังเป็นที่นิยมในประเทศไทย จำนวน 30 ตัวอย่าง พบว่าลูกเดือยมีการปนเปื้อนของสารพิษจากเชื้อราอยู่ในระดับที่ปลอดภัยโดยพบ aflatoxin 2.15 ppb, ochratoxin 0.71 ppb, fumonisin 0.61 ppm, zearalenone at 41.26 ppb, T-2 toxin at 9.49 ppb and vomitoxin at 0.09 ppm

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงสาธารณสุข. 2522. ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 98 (พ.ศ. 2529) อาหารที่มีสารปนเปื้อน.
ชัยโย ชัยชาญทิพยุทธ, มยุรี หาญตระกูล, เกรียงศักดิ์ พูนสุข, โสภณ เริงสำราญ, สมใจ เพ็งปรีชา
และอมร เพชรสม. 2524. สมุนไพรอันดับที่ 02. โครงการศึกษาวิจัยสมุนไพร. กรุงเทพฯ. 224 หน้า.
ยุพดี สิทธิบุศย์. 2526. รายงานการวิเคราะห์เมล็ดเดือย. กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพฯ.
พยอม ตันวิวัฒน์. 2521. สมุนไพร. สมาคมสมุนไพรแห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ. 142 หน้า.
สากล อุไรกุล. 2527. เศรษฐกิจการผลิตลูกเดือย. ข่าวพาณิชย์, 35.8976.
Anonymous. 1982. FDA advises USDA on levels of concern set for vomitoxin, Food Chemical News, 24: 23.
Codex. 19983. Joint FAO/ WHO Food Standards Programme, Codex Committee on Food Additives and Contaminants. Thirtieth Session, The Hague, The Netherlands, 9-13 March 1998. Position paper on zearalenone. CX/FAC 98/18 February 1998.
IARC. 1993. IARC Monographs on the evaluation of carcinogenic risks to humans, vol 56 : Some naturally occurring substances : food items and constituents, heterocyclic aromatic amines and mycotoxins, pp. 245-521.
Tabata, S. 1998. Aflatoxin contamination in foods and foodstuffs. Mycotoxins. 47: 9-14.