ผลของน้ำตาลในน้ำยาปักแจกันต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของดอกว่านนางคุ้ม
Main Article Content
บทคัดย่อ
การทดลองใช้น้ำยาปักแจกันที่มีส่วนผสมของน้ำตาล 0, 2, 5 และ 10 เปอร์เซ็นต์ ร่วมกับ 8-HQS 200 ส่วนต่อล้าน และ AgNO3 50 ส่วนต่อล้าน กับช่อดอกว่านนางคุ้ม พบว่า น้ำตาลที่มีความเข้มข้นต่ำให้อายุการปักแจกันของช่อดอกยาวนานกว่าน้ำตาลที่มีความเข้มข้นสูง ในขณะที่น้ำตาลที่ความเข้มข้นสูงช่วยปรับปรุงการบานของดอกในช่อดอกได้ดีกว่า
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
ปาริชาต จิตนันท์. 2540. การขยายพันธุ์ว่านนางคุ้มในสภาพปลอดเชื้อ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 230 น.
สายชล เกตุษา. 2531. เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวของดอกไม้. บริษัท สารมวลชน จำกัด, กรุงเทพฯ. 269 น. Halevy, A.H. and S. Mayak. 1981. Senescence and postharvest physiology of cut flowers. Part 2. Hort. Review 3 : 59-143.
สายชล เกตุษา. 2531. เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวของดอกไม้. บริษัท สารมวลชน จำกัด, กรุงเทพฯ. 269 น. Halevy, A.H. and S. Mayak. 1981. Senescence and postharvest physiology of cut flowers. Part 2. Hort. Review 3 : 59-143.