การเจริญเติบโตและผลผลิตของกะหล่ำดอก ที่ปลูกภายในโรงเรือนตาข่ายภายใต้การพรางแสง 3 ระดับ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของกะหล่ำดอกพันธุ์คอนทร้า 291 ที่ปลูกภายในโรงเรือนตาข่าย ภายใต้การพรางแสง 3 ระดับคือ 39.47, 58.09 และ 73.54% เปรียบเทียบกับการปลูกกลางแจ้งปรากฏผลว่า การเพิ่มระดับของการพรางแสงมีผลให้ปริมาณพลังงานแสงที่กะหล่ำดอกได้รับลดลงเป็นลำดับ ซึ่งกะหล่ำดอกมีการปรับตัวต่อสภาพแสงที่ลดลงโดยการเพิ่มความสูง ปริมาณพื้นที่ใบต่อต้น และปริมาณคลอโรฟิลล์ในใบ ผลสืบเนื่องจากการปรับตัวของกะหล่ำดอกภายใต้การพรางแสงทั้ง 3 ระดับพบว่ากะหล่ำดอกที่ปลูกภายใต้การพรางแสง 58.09% มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางดอกน้ำหนักสด และน้ำหนักแห้งดอกมากที่สุด ซึ่งดีกว่าการปลูกกลางแจ้งและการปลูกภายใต้การพรางแสง 73.54% อย่างมีนัยสำคั
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
กอบเกียรติ บันสิทธิ์. 2541. มุมมองเรื่องผักกางมุ้งของไทย. กสิกร 71 (5): 437-442.
วินัย รัชตปกรณ์ชัย. 2532. ผักกางมุ้ง หน้า 123 – 128 ใน หนังสือวันต้นไม้ประจำไม้ประจำปีแห่งชาติ 2532. ห้างหุ้นส่วน จำกัด ป. สัมพันธ์พาณิชย์. กรุงเทพมหานคร.
วิรัตน์ ภูวิวัฒน์. 2539. อิทธิพลของความเข้มแสงระดับต่างๆต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของคะน้า (Chinese kale: Brassica alboglaba Bailey) ที่ปลูกในโรงเรือนตาข่าย. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า 14 (2): 3 – 10.
วิรัตน์ ภูวิวัฒน์. 2542. ผลของโรงเรือนตาข่ายสามลักษณะต่อผลผลิตของผักกาดหัวที่ปลูกในช่วงฤดูฝน. หน้า 248-255 ใน เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ 30 ปีเกษตรเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะ เทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ.
Anonymous.1992. Cultivation under simple (plastic/greenhouse) structures in the tropics and subtropics. pp. 42-46. In. FFTC 1991 Annual Report. FFTC, Taiwan, ROC.
Arnon, L.D.1949. Copper enzymes in isolated chloroplasts : polyphenoloxidase in Beta vulgaris. Plant Physiol. 24 : 1-15.
AVRDC.1990. Vegetable Production Training Manual. AVRDC, Shanhua, Tainan, Taiwan, ROC. 447 pp.
Boardman, N.K. 1977. Comparative photosynthesis of sun and shade plants. Ann. Rev. Plant Physiol. 28 : 355 – 377.
Fitter, A.H. and R.K.M. Hay. 1987. Environmental Physiology of Plants. 2nd ed. Academic Press, London, U.K. 423 pp.
Hale, M.G. and D.M. Orcutt. 1987. The Physiology of Plants under Stress. John Wiley and Sons, U.S.A. 206 pp.
Hiscox, J.D. and G.H. Israelstam. 1979. A method for the extraction of chlorophyll from leaf tissue without maceration. Can. J. Bot. 57 : 1332 1334.
Phuwiwat, W. 1993. Morpho-Anatomical and Physiological Adaptations of Sweet Pepper (Capsicum annuum L.) to Partial Shade. Ph. D. Diss. University of the Philippines Los Banos, Phillippines. 157 pp.
Sanchez, C.A., R.J. Allen, and B. Schaffer. 1989. Growth and yield of crisphead lettuce under various shade conditions. J. Amer. Soc. Hort. Sci. 114 (6): 884-890.
วินัย รัชตปกรณ์ชัย. 2532. ผักกางมุ้ง หน้า 123 – 128 ใน หนังสือวันต้นไม้ประจำไม้ประจำปีแห่งชาติ 2532. ห้างหุ้นส่วน จำกัด ป. สัมพันธ์พาณิชย์. กรุงเทพมหานคร.
วิรัตน์ ภูวิวัฒน์. 2539. อิทธิพลของความเข้มแสงระดับต่างๆต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของคะน้า (Chinese kale: Brassica alboglaba Bailey) ที่ปลูกในโรงเรือนตาข่าย. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า 14 (2): 3 – 10.
วิรัตน์ ภูวิวัฒน์. 2542. ผลของโรงเรือนตาข่ายสามลักษณะต่อผลผลิตของผักกาดหัวที่ปลูกในช่วงฤดูฝน. หน้า 248-255 ใน เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ 30 ปีเกษตรเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะ เทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ.
Anonymous.1992. Cultivation under simple (plastic/greenhouse) structures in the tropics and subtropics. pp. 42-46. In. FFTC 1991 Annual Report. FFTC, Taiwan, ROC.
Arnon, L.D.1949. Copper enzymes in isolated chloroplasts : polyphenoloxidase in Beta vulgaris. Plant Physiol. 24 : 1-15.
AVRDC.1990. Vegetable Production Training Manual. AVRDC, Shanhua, Tainan, Taiwan, ROC. 447 pp.
Boardman, N.K. 1977. Comparative photosynthesis of sun and shade plants. Ann. Rev. Plant Physiol. 28 : 355 – 377.
Fitter, A.H. and R.K.M. Hay. 1987. Environmental Physiology of Plants. 2nd ed. Academic Press, London, U.K. 423 pp.
Hale, M.G. and D.M. Orcutt. 1987. The Physiology of Plants under Stress. John Wiley and Sons, U.S.A. 206 pp.
Hiscox, J.D. and G.H. Israelstam. 1979. A method for the extraction of chlorophyll from leaf tissue without maceration. Can. J. Bot. 57 : 1332 1334.
Phuwiwat, W. 1993. Morpho-Anatomical and Physiological Adaptations of Sweet Pepper (Capsicum annuum L.) to Partial Shade. Ph. D. Diss. University of the Philippines Los Banos, Phillippines. 157 pp.
Sanchez, C.A., R.J. Allen, and B. Schaffer. 1989. Growth and yield of crisphead lettuce under various shade conditions. J. Amer. Soc. Hort. Sci. 114 (6): 884-890.