ผลกระทบของปรากฏการณ์ “เอลนิโญ” ต่อการออกดอกของมะม่วง

Main Article Content

เสริมสกุล พจนการุณ
ตระกูล ตันสุวรรณ

บทคัดย่อ

ปรากฏการณ์“ เอลนิโญ” มีผลกระทบต่อสภาพลมฟ้าอากาศบริเวณภาคเหนือตอนบน โดยเฉพาะจังหวัดเชียงใหม่ ส่งผลให้เกิดสภาวะฝนแล้ง ความชื้นสัมพัทธ์ต่ำ อุณหภูมิสูงสุด ต่ำสุด และอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่าปกติ อย่างมีนัยสำคัญ  ทำให้มะม่วงออกดอกน้อย หรือไม่ออกเลยในฤดูกาลปกติ แต่กลับออกดอกประปรายต่อเนื่องนอกฤดูกาล ปกติตลอดช่วงเวลาที่ทำการศึกษาระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึง พฤศจิกายน 2541 ที่ภาควิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จากการศึกษาเปอร์เซนต์การผลิช่อดอก และจำนวนครั้งที่ผลิช่อดอก พบว่าพันธุ์น้ำดอกไม้บนต้นตอโชคอนันต์ตอบสนองมากที่สุด  รองลงมาคือ  พันธุ์น้ำดอกไม้บนต้นตอแก้ว พันธุ์พินเสนมันบนต้นตอโชคอนันต์  พันธุ์พินเสนมันบนต้นตอแก้ว  และพันธุ์เขียวเสวยบนต้นตอโชคอนันต์  ตามลำดับ  ส่วนพันธุ์เขียวเสวยบนต้นตอแก้วไม่ตอบสนองเลย พันธุ์พินเสนมันบน  ต้นตอโชคอนันต์มีอัตราส่วนเพศดอกตัวผู้ต่อดอกสมบูรณ์เพศสูงสุด  พันธุ์น้ำดอกไม้บนต้นตอโชคอนันต์มีค่าต่ำสุด ส่วนเปอร์เซนต์การติดผลมีค่าใกล้เคียงกัน แต่พันธุ์น้ำดอกไม้บนต้นตอโชคอนันต์มีจำนวนผลเฉลี่ยต่อต้นสูงสุด  พันธุ์เขียวเสวยบนต้นตอโชคอนันต์มีค่าต่ำสุด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ฝ่ายกรรมวิธีข้อมูล กองภูมิอากาศ. 2537. สถิติภูมิอากาศของประเทศไทยในคาบ 30 ปี (พ.ศ. 2504-2533). รายงานข้อมูลอุตุนิยมวิทยา เลขที่ 551.582-02 2537. กรมอุตุนิยมวิทยา กรุงเทพมหานคร 138 หน้า.
ฝ่ายข้อมูลส่งเสริมการเกษตร. 2542. สถิติการปลูกไม้ผลไม้ยืนต้นปี 2540-41. เอกสารเผยแพร่ฝ่ายข้อมูล ส่งเสริมการเกษตร กองแผนงาน กรมส่งเสริมเกษตร กรุงเทพมหานคร.
ฝ่ายแผนที่และข้อมูล ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ. 2535. สถิติภูมิอากาศของภาคเหนือปี 2534. ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ. เชียงใหม่. 63 หน้า.
ฝ่ายแผนที่และข้อมูล ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ. 2536. สถิติภูมิอากาศของภาคเหนือปี 2535. ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ.เชียงใหม่. 63 หน้า.
ฝ่ายแผนที่และข้อมูล ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ. 2537. สถิติภูมิอากาศของภาคเหนือปี 2536. ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ. เชียงใหม่. 63 หน้า.
ฝ่ายแผนที่และข้อมูลศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ. 2538. สถิติภูมิอากาศของภาคเหนือปี 2537. ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ. เชียงใหม่. 63 หน้า.
ฝ่ายแผนที่และข้อมูล ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ. 2539. สถิติภูมิอากาศของภาคเหนือปี 2538. ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ. เชียงใหม่. 63 หน้า.
ฝ่ายแผนที่และข้อมูล ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ. 2540 สถิติภูมิอากาศของภาคเหนือปี 2539. ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ. เชียงใหม่. 63 หน้า.
ฝ่ายแผนที่และข้อมูล ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ. 2541. สถิติภูมิอากาศของภาคเหนือปี 2540. ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ. เชียงใหม่. 63 หน้า.
ฝ่ายแผนที่และข้อมูลศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ. 2542. สถิติภูมิอากาศของภาคเหนือปี 2541. ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ. เชียงใหม่. 63 หน้า.
ฝ่ายพยากรณ์อากาศศูนย์ อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ. 2542. สภาวะอากาศของภาคเหนือของประเทศไทยประจำปี พ.ศ. 2541. เอกสารรายงานอุตุนิยมวิทยา กรุงเทพมหานคร. 70 หน้า.
ฝ่ายวิชาการ กองภูมิอากาศ. 2541. เอลนิโนฉบับปรับปรุงให้ทันสมัย ฉบับที่ 6 (มิถุนายน 2541) ขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก. หนังสือในราชการกรมอุตุนิยมวิทยา ลงวันที่ 23 มิถุนายน 2541. 3 หน้า.
มนูญ เรืองกฤษ. 2541. คำเตือนเกี่ยวกับลักษณะอากาศช่วงเกิดปรากฏการณ์เอลนิโน พ.ศ. 2540-2541. ประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา ลงวันที่ 9 มกราคม 2541. 2 หน้า.
มันทนา พฤกษะวัน. 2531. การหาผลกระทบของเอลนิโนที่มีต่อฝนในประเทศไทย. เอกสารวิชาการ : กรม อุตุนิยมวิทยา กรุงเทพมหานคร. 56 หน้า.
มันทนา พฤกษะวัน. 2540. ปรากฏการณ์เอนโซ (เอนนิโน/ความผันแปรของระบบอากาศในซีกโลกใต้). วารสาร อากาศวิทยา 32(3): 9-14.
วัฒนา กันบัว และเกษรินทร์ ห่านประเสริฐ. 2541 เอลนิโญ. วารสารอากาศวิทยา 3 (1): 9-12.
Arteca, R.N., 1996. Plant Growth Substances: Principle and Applications. Chapman & Hall book, New York. 332p.
Chen, W.S., K.L.Huang and H.C.Yu. 1997. Cytokinins from terminal buds of Euphoria longana during different growth stages. Physiologia Plantarum 99: 185-189.
Glontz M.H., 1984. El Niño_ _ _should it take the blame for diasters. Science and Technology. Mazingiro March 1984: 21-26.
Hoagland, D.R. and D.I. Arnon. 1952. The Water Culture Method for Growing Plants without Soil. California Agricultural Experiment Station, Bulletin No.147.
Hugnes, K. 1997. What is El Niño? ENN. El Niño special Report_September 22, 1997. http://www.enn.com/specialreports/elnino/what.htm
International Research Institute for Climate Prediction (IRI). 1999. 1997-98 El Niño Evolution Compared with Previous El Niños. http://www.iri.ucsd.edu/hot_nino/prev_nino/
Jackson, I.J. 1991. Climate, Water and Agriculture in the Tropics. Longman Singapore Publishers(Pte) Ltd. Singapore. 337p.
Lim Joo Tick. 1987 Lecture note on Tropical Meteorology and Advanced Dynamic Meteorology. Bangkok. Thailand. 195pp.
NASA's Jet Propulsion Laboratory. 1998. El Niño : A Global Weather Phenomenon. http://airsea- www.jpl.nasa.gov/ENSO/EINino.html
National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA). 1999. What's happening in the atmosphere during El Niño. http://www.cdc.noaa.gov/ENSO/enso.description.html
Patzert, B. 1998. Whoa, don't declare El Niño dead, yet_ _ _ENN EINiño Special Report June 29, 1998. http://www.enn.com/specialreports/elnino/news/elnino_062998.asp
Thurman, H.V. 1994. Introductory Oceanography. Macmillan Publishing Company. New York. 550p U.S. Department of Commerce/NOAA/PMEL/TAO -What is an El Niño? http://www.pmel.noaa.gov/ toga-tao/el-nino-story.html
World Wildlife Fund (WWF) 1998. Rain Forest Fire Crisis : WWF Experts Report Forest Fires Out of Control Around the World. http://www.wwf.org/new/fires/home.htm