การคัดเลือกพืชสมุนไพรป้องกันกำจัดหนอนกระทู้ผัก

Main Article Content

รัตติยา นวลหล้า
พิทยา สรวมศิริ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกพืชที่มีสารยับยั้งการกินของหนอนกระทู้ผัก  โดยศึกษาจากพืชจำนวน 63 ชนิดใน 27 ตระกูล  สามารถคัดเลือกพืชได้ 5 ชนิด ได้แก่ กิ่งประยงค์ เปลือกผลมะกรูด รากหนอนตายหยาก ผลดีปลี และลำต้นใต้ดินค้างคาวดำ ซึ่งมีค่า antifeedant index (AFI) เท่ากับ 17.94±6.73, 18.51 ± 1.83, 19.35 ±1.00, 23.29 ± 7.59 และ 25.32 ± 6.04 ตามลำดับ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จริยา วิสิทธิ์พานิช. 2528. แมลงศัตรูพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย. ภาควิชากีฏวิทยา คณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 307 น.
จันทร์ทิพย์ จันทร์ประเสริฐ. 2535. โครงสร้างและฤทธิ์ฆ่าแมลงของสารประกอบจากต้นประยงค์ (Aglaia odurata Lour.) และผลดีปลี (Piper retrofractum Vahl.). วิทยานิพนธ์ปริญญาโท สาขาวิชาเคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 196 น.
ทิติยา จิตติหรรษา. 2532. การใช้สารสกัดจากพืชเพื่อควบคุมแมลง. วารสารวิชาการเกษตร, 7: 92-98.
ปัญญรัตน์ สาลี. 2541. ประสิทธิภาพในการเสริมฤทธิ์ของสาสกัดจากผลดีปลีกับสารฆ่าแมลงบางชนิดในการควบคุมหนอนใยผัก. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท สาขาวิชากีฏวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 68 น.
พิมพร มณเฑียรอาสน์. 2538. โครงสร้างและฤทธิ์ควบคุมแมลงของต้นจะค้าน (Piper pedicellatum) และการ เลือกสายพันธุ์พืชสกุล Aglaia ที่มีฤทธิ์ต้านทานการกินของแมลง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท สาขาวิชา เคมีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 144 น.
โสภา หวั่นเส้ง. 2537 โครงสร้างและฤทธิ์ควบคุมแมลงของสารประกอบจากต้น Aglaia oligophyla
Miq. และการคัดเลือกต้นดีปลี (Piper retrofractum Vahl.) กับพริกไทย (Piper nigrum L.) เพื่อใช้ควบคุม แมลง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท สาขาวิชาเคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 142 น.
เสียง กฤษณีไพบูลย์. 2532. สารสกัดจากพืชที่มีผลต่อแมลง. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสงขลา นครินทร์.11: 107-112.
ศูนย์สมุนไพร มหาวิทยาลัยมหิดล. 2527. ก้าวไปกับสมุนไพร เล่ม 3. โครงการสมุนไพรเพื่อการพึ่งตนเอง ม กรุงเทพฯ. 229 น.
อุดมลักษณ์ อุ่นจิตติวรรธนะ. 2540. สารออกฤทธิ์จากพืช. ข่าวสารวัตถุมีพิษ. 24: 33-36.
เอมอร โสมนะพันธุ์. 2536. สารฆ่าแมลงจากธรรมชาติ น. 263-264. ใน วันดี กฤษณพันธ์ (ผู้รวบ-รวม) ยาและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ. ภาควิชาเภสัชวินิจฉัย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ.
Escoubas, P., L. Lajide and J. Mitzutani 1993. An improved leaf-disk antifeedant bioassay and its application for the screening of Hokkaido plants. Entomol. Exp. Appl. 66: 99-107.
Escoubas, P., L. Lajide and J. Mizutani. 1994. Insecticidal and antifeedant activities of plant compounds: potential leads for novel pesticides.ACS-symp-ser, Washington, D.C. :162-171.
Ge, X. and P.A. Weston. 1995. Ovipositional and feeding deterrent from Chinese prickly
Ash against Angoumois grain moth (Lepidoptera: Gelechiidae). J-econ-entomol. 88: 1771-1775. Isman, M.B. 1993. Growth inhibitory and antifeedant effects of azadirachtin on six noctuides of regional economic importance. Pestic-sci. 36: 57-63.
Kato, T., W. Krarmer, K.H. Kuck, D.M. Norris and H. Scheinpflug. 1986. Sterol biosynthesis, inhibitors and antifeeding compounds, p.97-143. In W.S.Bowers, T.R Fukuto, T.R Martins, R. Weiger and I. Yamamoto (eds.). Chemistry of Plant Protection.Springer-Verlag, Berlin Heidelberg New York Tokyo.