การศึกษาโครโมโซมของว่านมหาลาภ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาโครโมโซมของว่านมหาลาภจากเซลปลายราก พบว่า วิธีการที่ได้ผลดี คือการเก็บตัวอย่างราก เวลา 9.00 น. หยุดวงชีพเซลใน para-dichlorobenzene นาน 4½ ชั่วโมง แยกเซลใน HCI 1N นาน 5 นาที แล้วย้อมด้วยสี carbol fuchsin นาน 1 ชั่วโมง ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า ว่านมหาลาภมีจำนวนโครโมโซม 2n = 68
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
ฉันทนา สุวรรณธาดา, พิมพ์ใจ อาภาวัชรุตม์ และพิศิษฐ์ วรอุไร. 254 ก. การสร้างดอกของไม้ดอกประเภทหัว. รายงานการประชุมวิชาการไม้ดอกไม้ประดับแห่งชาติ ครั้งที่ 3. ธันวาคม 2540. เชียงใหม่. หน้า 1-6.
ฉันทนา สุวรรณธาดา, พิมพ์ใจ อาภาวัชรุตม์ และพิศิษฐ์ วรอุไร, 2540 ข. การสร้างหัวของไม้ดอกประเภทหัว. 1. การสร้าง corm และ tunicate bulb. รายงานการประชุมวิชาการไม้ดอกไม้ประดับแห่งชาติ ครั้งที่ 3. ธันวาคม 2540. เชียงใหม่. หน้า 7-11.
ปรีดี เอกะวิภาต. 2526. ว่านมหาลาภ. วารสารพืชสวน 18 (2): 43-47.
พิกุล สุรพรไพบูลย์. 2539. การสร้างหัวของว่านมหาลาภ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบั ณฑิต (เกษตรศาสตร) สาขาวิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 175 น.
พิศิษฐ์ วรอุไร, ฉันทนา สุวรรณธาดา และพิมพ์ใจ อาภาวัชรุตม์. 2536. การบังคับต้นไม้ดอกประเภทหัวบางชนิดให้ออกดอกนอกฤดูกาล. จดหมายข่าวสถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 1(3): 6.
เรวดี วุฒิจำนงค์. 2533. การศึกษาการพัฒนาของดอกว่านมหาลาภ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 95 น.
สุพจน์ เพชรบุรี. 2537. การศึกษาขนาดของหัวพันธุ์การเก็บรักษาหัวพันธุ์และการปรับปรุงคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวดอกว่านมหาลาภ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 175 น.
Chen, Z.Y. 1992. Cytology of Zingiberaceae, a paper distributed for the training course on Cytotaxonomy of Zingiberaceae and Some Selected Plants. Faculty of Sciences, The Prince of Songkla University, Songkla. 6 p.
Meerow, A. W., M. Roh and R.S. Lawson. 1992. Breeding of Eucrosia (Amaryllidaceae) for cut flower and pot plant productuion. Acta Hort. 325: 555-560.
Roh, M.S. and A.W.Meerow. 1992. Flowering of Eucrosia influenced by bulb size and watering frequency. Hort. Sci. 27(11): 1,227.
ฉันทนา สุวรรณธาดา, พิมพ์ใจ อาภาวัชรุตม์ และพิศิษฐ์ วรอุไร, 2540 ข. การสร้างหัวของไม้ดอกประเภทหัว. 1. การสร้าง corm และ tunicate bulb. รายงานการประชุมวิชาการไม้ดอกไม้ประดับแห่งชาติ ครั้งที่ 3. ธันวาคม 2540. เชียงใหม่. หน้า 7-11.
ปรีดี เอกะวิภาต. 2526. ว่านมหาลาภ. วารสารพืชสวน 18 (2): 43-47.
พิกุล สุรพรไพบูลย์. 2539. การสร้างหัวของว่านมหาลาภ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบั ณฑิต (เกษตรศาสตร) สาขาวิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 175 น.
พิศิษฐ์ วรอุไร, ฉันทนา สุวรรณธาดา และพิมพ์ใจ อาภาวัชรุตม์. 2536. การบังคับต้นไม้ดอกประเภทหัวบางชนิดให้ออกดอกนอกฤดูกาล. จดหมายข่าวสถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 1(3): 6.
เรวดี วุฒิจำนงค์. 2533. การศึกษาการพัฒนาของดอกว่านมหาลาภ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 95 น.
สุพจน์ เพชรบุรี. 2537. การศึกษาขนาดของหัวพันธุ์การเก็บรักษาหัวพันธุ์และการปรับปรุงคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวดอกว่านมหาลาภ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 175 น.
Chen, Z.Y. 1992. Cytology of Zingiberaceae, a paper distributed for the training course on Cytotaxonomy of Zingiberaceae and Some Selected Plants. Faculty of Sciences, The Prince of Songkla University, Songkla. 6 p.
Meerow, A. W., M. Roh and R.S. Lawson. 1992. Breeding of Eucrosia (Amaryllidaceae) for cut flower and pot plant productuion. Acta Hort. 325: 555-560.
Roh, M.S. and A.W.Meerow. 1992. Flowering of Eucrosia influenced by bulb size and watering frequency. Hort. Sci. 27(11): 1,227.