ประสิทธิผลของงานวิจัยสาขาเกษตรศาสตร์ในประเทศไทย

            เมื่อไม่นานมานี้ ได้มีโอกาสเข้าร่วมฟังการสัมมนาทางวิชาการ จัดโดยทบวงมหาวิทยาลัย เรื่อง “บทบาทของมหาวิทยาลัย และภาคธุรกิจเอกชน เพื่อสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาในมหาวิทยาลัย” เพื่อหาแนวทางพัฒนาความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับภาคธุรกิจเอกชนในการวิจัยสร้างองค์ความรู้และสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ

            ในหัวข้อบรรยายหนึ่ง ปลัดทบวงมหาวิทยาลัย ได้นำข้อมูลตัวเลขการสนับสนุนงานวิจัยของรัฐบาลในปีงบประมาณ 2543 และผลสัมฤทธิ์จากการวิจัยในอดีตเป็นประเด็นเปรียบเทียบเกี่ยวกับประสิทธิภาพการผลิตด้านเกษตรกรรมมาแสดง ซึ่งนับว่า น่าสนใจและน่าคิดเป็นอย่างมาก จึงขออนุญาตนำมาเสนอไว้ตรงนี้ เพื่อช่วยกันวิเคราะห์ว่า งานวิจัยทางการเกษตรที่เราทำกันอยู่ทุกวันนี้ ส่งผลดีต่อเกษตรกรเพียงใด ?? ที่เกษตรกรของเรายังยากจนอยู่อย่างทุกวันนี้ เพราะรัฐบาลสนับสนุนงบประมาณวิจัยน้อยไปหรือเปล่า ??

Doc1.jpg

หมายเหตุ: อิสราเอล ญี่ปุ่น ฮ่องกง เกาหลี ไต้หวัน อาจมียอดรวมงบประมาณสนับสนุนการวิจัยมากกว่า  ประเทศไทย แต่จะส่งผลให้ประสิทธิภาพการผลิตด้านเกษตรกรรมมีความแตกต่างกันมากขนาดนี้ไหม ?

เผยแพร่แล้ว: 2020-10-16

สถานภาพการผลิต พันธุ์ และแนวทางพัฒนาลำไยเพื่ออุตสาหกรรมในเขตภาคเหนือ

พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ , รำไพพรรณ อภิชาติพงษ์ชัย

198-214

การปรับปรุงพันธุ์ผักกาดหัวลูกผสมชั่วที่หนึ่ง

มณทิรา ภูติวรนาถ, มณีฉัตร นิกรพันธุ์

229-237

การศึกษาโครโมโซมของว่านมหาลาภ

ศิริพร หาญนันทวิวัฒน์, ฉันทนา สุวรรณธาดา

250-254

ผลกระทบของการปลูกกาแฟต่อการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมของเกษตรกรบนที่สูงในภาคเหนือตอนบน

ธีระเดช พรหมวงศ์, นริศ ยิ้มแย้ม, วราพงษ์ บุญมา , นิธิ ไทยสันทัด , ประเสริฐ คำออน

255-262

วิธีการใช้ใบหม่อนที่เหมาะสมกับการเลี้ยงไหมลูกผสมเชิงเดี่ยว

จิราพร ตยุติวุฒิกุล, วัชรี คงรัตน์ , เฉลิมพงษ์ เจริญวิบูลย์พันธ์ , ระพีพงศ์ เกษตรสุนทร

290-299