การใช้เยื่อใยระดับสูงในอาหารสัตว์ปีก 2. เป็ดรุ่นและเป็ดไข่

Main Article Content

สุชน ตั้งทวีวิพัฒน์
บรรจง วงศ์เรือง

บทคัดย่อ

การศึกษาถึงระดับที่เหมาะสมของเยื่อใยในอาหารเป็ดรุ่นและเป็ดไข่ โดยการเพิ่มรำหยาบในสูตรอาหารได้แบ่งออกเป็น 2 การทดลอง คือ ศึกษาตั้งแต่เป็ดรุ่นอายุระหว่าง 14-18 สัปดาห์ ต่อเนื่องไปจนถึงระยะไข่เป็นเวลา 6 เดือน และศึกษาเฉพาะในเป็ดไข่เป็นเวลา 6 เดือน โดยระดับของเยื่อใยในสูตรอาหารทุกระยะกำหนดไว้ที่ 6, 9, 12 และ 15% ผลปรากฏว่า เป็ดรุ่นอายุตั้งแต่ 16 สัปดาห์ขึ้นไป สามารถใช้อาหารที่มีเยื่อใยระดับสูง 9-15% ได้ ส่วนในเป็ดระยะไข่ระดับเยื่อใยที่เหมาะสมคือ 9% หากใช้ในระดับที่สูงกว่านี้ ผลผลิตไข่และประสิทธิภาพการใช้อาหารจะด้อยลง แต่จะได้ไข่ที่มีขนาดฟองโตขึ้น

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

นรินทร์ ทองวิทยา และเผ่าพันธุ์ ปูระณะพงษ์. 2535 ก. ระดับเยื่อใยที่เหมาะสมในอาหารลูกเป็ดพันธุ์กากีแคมป์ เบลกับพื้นเมือง. รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 30, สาขาสัตว์สัตวแพทย์ ประมง หน้า 123-132, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ
นรินทร์ ทองวิทยา และ เผ่าพันธุ์ ปูระณะพงษ์. 2535 ข. ระดับเยื่อใยที่เหมาะสมในอาหารเป็ดไข่พันธุ์ลูกผสม กากีแคมป์เบลกับพื้นเมือง. รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 30, สาขาสัตว์ สัตวแพทย์ ประมง หน้า 133-144, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ
สุชน ตั้งทวีวิพัฒน์ และ บุญล้อม ชีวะอิสระกุล. 2536. ผลการใช้เมล็ดหรือกากเมล็ดทานตะวันระดับสูงใน อาหารเป็ดไข่. ว. เกษตร 9: 130-143.
สุชน ตั้งทวีวิพัฒน์, บรรจง วงศ์เรือง และนรินทร์ ยาเทพ. 2539. การใช้เยื่อใยระดับสูงในอาหารสัตว์ปีก 1. ไก่ไข่รุ่น. ว. เกษตร (กำลังตีพิมพ์)
Duncan, D.B. 1955. Multiple range and multiple F test Biometrics 11: 1-42.
Kamar, G.A.R, H.M. Mourad, M.S, Samy and N.A.H. Ahmed. 1987. Effect of feeding different fiber levels to chickens and ducks on some physiological aspects of the alimentary canal. 2. Physiological and tissue volumes. Assiut Veterianry Medical J. 16(31): 269-282.
Pan, C.M., C.I. Lin and P.C. Chen. 1981. Studies on laying duck nutrition. 2. Protein and energy re- quirements of Tsaiya (Anas platyrhynchos var. domestica). J. Taiwan Livest. Res. 14(1): 39 -44.
Sauveur, B., H. de. Carville and R. Ferre’. 1984. Effect of plane of energy in the diet and of temperature on the performance of breeding Muscovy ducks. Archiv fr Geflgelkunde 48(2): 52-56
Schubert, R., G. Richter and K. Gruhn. 1982. Comparative studies of digestion in Muscovy and Pekin ducks and in laying hens. Archiv fr Tierernhrung 32: 531-537.
Steel, R.G.D. and J.H. Torrie. 1984. Principles and Procedures of Statisitcs. 2nd.,McGraw-Hill Book Co. Inc., New York. USA.
Tan, J.Z., H. Chen and A.Q. Zeng. 1988. Energy and protein requirements of Putian laying ducks. Chinese J. Animal Sci. 6: 3-8.