ผลกระทบของความเค็มต่อการเจริญเติบโตของมะม่วง

Main Article Content

สันติ ช่างเจรจา
ตระกูล ตันสุวรรณ

บทคัดย่อ

จากการศึกษาผลกระทบของความเค็มต่อการเจริญเติบโตของต้นมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ซึ่งปลูกในสภาพความเค็ม 3 ระดับคือ 30 60 และ 120 mmol/1 NaCl  ณ. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  พบว่าที่ระดับความเค็ม 120 mmol/l มีอัตราการเติบโตด้านความสูง ความกว้างทรงพุ่มและเส้นผ่าศูนย์กลางลำต้น จำนวนผลเฉลี่ยต่อต้น และปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำได้น้อยที่สุด แต่มีปริมาณกรดรวมในผลปริมาณธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัสในใบ และธาตุโซเดียมในราก มากกว่าระดับความเค็ม 30 และ 60 mmol/I 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เกษมศรี ซับซ้อน. 2536. ปฐพีวิทยา. ศูนย์ฝึกอบรมวิศวกรรมเกษตร บางพูน กองวิทยาลัยเกษตรกรรม กรมอาชีวศึกษา กรุงเทพมหานคร. 258 น.
ฉลองชัย แบบประเสริฐ. 2537. การปฏิบัติบำรุงสวนมะม่วง, น. 47-65. ในศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ. การทำสวนมะม่วง. สำนักงานส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน นครปฐม.
ยงยุทธ โอสถสภา สนั่น ขำเลิศ ฉลองชัย แบบประเสริฐ และมนตรี ค้ำชู. 2533. ดินและปุ๋ย, น. 66-99 ใน ศูนย์ ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ. การทำสวนมะม่วง. สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม.
วิจิตร วังใน. 2529. มะม่วง. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร. 301 น.
สดุดี วรรณพัฒน์. 2527. นิเวศน์วิทยาของพืช. ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอนแก่น. 127 น.
สมบุญ เตชะภิญญาวัฒน์. 2536. สรีรวิทยาของพืช. ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. 222 น.
สำเริง แซ่ตัน. 2532. การถ่ายทอดลักษณะทนเค็มในข้าว. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท สาขาวิชาพืชไร่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร. 58 น.
Awang, Y.B. and J.G. Atherton. 1995. Effect of plant size and salinity on the growth and fruiting of glasshouse strawberry. J. of Hort. Sci. 70 : 257-262.
Brugnoli, E. and M. Lanteri. 1991. Effects of salinity on stomatal conductance, photosynthesis capacity and carbon isotope discrimination of salt tolerant Gossypium hirsutum L.
Curtis, P.S. and A. Lauchli. 1986. The role of leaf area development and photosynthesis capacity in determining growh of kenaf under moderate salt stress. Aust. J. Plant Physiol. 13: 553-565
FAO. 1988. Salt-affected soils and their management. Food and Agriculture Organization of the United Nations, Rome. 131 p.
Greenway, H. and C.B. Osmond. 1972. Salt responses of enzyme from species differing in salt-tolerance. Plant Physiol. 49: 256-259.
Greenway, H. and R. Munns. 1980. Machanism of salt tolerance in nonhalophytes. Ann. Rev. Plant Physiol. 31: 149-190.
Hoagland, D.R. and D.I. Arnon, 1952. The water culture method for growing plants without soil. California Agricultural. Experimental Station, Bullentin No. 147.
Schmutz, U. and P. Luddres. 1993. Physiology of saline stress in one mango (Mangifera indica L.) rootstock. 5-10 July 1992. Fourth International Mango Symposium, Miami Beach, Florida.
Strogonov, B.P. 1964. Physiological basis of salttoler ance of plants. Israel Program for Scientific Translations, Jerusalem. 279 p.
Yeo, A.R. and T.J. Flowers. 1983. Varietal differences in the toxicity of sodium ions in rice leaves. Plant Physiol. 59: 164-195.