อิทธิพลของกรดกำมะถันและดินประสิวที่มีต่อการงอกของเมล็ดหญ้าซิกแนลเลื้อย

Main Article Content

วัฒนา โคตรพัฒน์
ธนัท ธัญญาภา

บทคัดย่อ

การทดสอบความมีชีวิตของเมล็ดด้วยวิธี Tetrazolium test พบว่า  การแช่เมล็ดใน H2SO4 2- 10 นาที ไม่มีผลกระทบต่อเปอร์เซนต์ความมีชีวิตของเมล็ด ของหญ้าซิกแนลเลื้อย ส่วนการศึกษาอิทธิพลของ H2SOและ KNO3 ที่มีผลต่อการงอกของเมล็ดหญ้าซิกแนลเลื้อย พบว่า การแช่เมล็ดใน H2SO98% 20 นาทีให้เปอร์เซนต์ความงอกสูงกว่าแช่ที่ 10 และ 15 นาที และเมล็ดที่แช่ใน KNO3 ความเข้มข้น 6% ให้เปอร์เซนต์ความงอกสูงกว่าแช่ที่ความเข้มข้น 2 และ 10 เปอร์เซนต์  นอกจากนี้ยังพบว่า การแช่เมล็ดใน H2SO4 มีปฏิกริยาร่วมกับการแช่เมล็ดใน KNO3 โดยการแช่เมล็ดใน H2SO20 นาที แล้วแช่ใน KNO3 6% จะทำให้มีเปอร์เซนต์ความงอกสูงที่สุดคือ 20.29% แต่ก็ใกล้เคียงกับการแช่เมล็ดใน H2SO20 นาที แล้วแช่ใน KNO3 2% ซึ่งทั้ง 2 วิธีการทำให้เปอร์เซนต์ความงอกสูงกว่า control ประมาณ 18-20 เท่า

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จวงจันทร์ ดวงพัตรา. (2521). เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์. กลุ่มหนังสือเกษตร, กรุงเทพ.
เฉลิมพล แซมเพชร. (2524). ทุ่งหญ้าเขตร้อน. สำนักพิมพ์ออฟเซ็ท คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่.
นงลักษณ์ ประกอบบุญ. (2528). การทดสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ.
อารีย์ วรัญญวัฒน์. (2526). พืชอาหารสัตว์. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ.
Cunha, R.de. and V.WD. Casali. (1989). Effect of growth regulating substances on the germination of lettuce seeds. (1992). Revista Brasileira de Fisiologia Vegeta 1(2): 121-132.
International Seed Testing Association (ISTA). (1985). Seed Science and Technology. Volume 13 No.2 435-441.
Nakamura, S. and P. Sathiyamoorthy. (1990). Germination of Wasabia japonica Matsum. seeds. J. Jap. Soc. Hort. Sci. 59 (3): 573-577.
Sinska, I and R.J. Gladon. (1989). Effect of inhibitors of synthesis and action of ethylene on apple seed stratification and embryo germination. Acta Physiol.Plant. 11(4): 307-315.
Skerman, P.J. and F. Riveros. (1990) FAO. Plant Production and Protection. Series No. 23 Rome. 832 p.