การวิเคราะห์พฤติกรรมของประชากรและการยอมรับการส่งเสริมอาชีพหลัก-รอง ในพื้นที่โครงการพัฒนาลุ่มน้ำแม่อาว อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดลำพูน

Main Article Content

วราภา คุณาพร

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาพฤติกรรมในการประกอบอาชีพของประชากรในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำแม่อาว อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดลำพูนและเพื่อศึกษาหาตัวชี้วัดเพื่อใช้ในการประเมินผลของโครงการฯ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาจำนวน 444 ราย ได้รับการคัดเลือกโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน จากประชากรทั้งหมด 3,017 ครัวเรือน จากการศึกษาพบว่า อาชีพหลักคืออาชีพเกษตรในขณะที่อาชีพรอง ได้แก่ การรับจ้าง ประชากรร้อยละ 16.7  ไม่เคยทราบข่าวเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม  อย่างไรก็ดีประชากรส่วนใหญ่ทำการเกษตรเชิงอนุรักษ์ ตัวชี้วัดในการประเมินผลโครงการฯ ได้แก่ ปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำ จำนวนเกษตรกร และการอพยพแรงงาน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมส่งเสริมการเกษตร. (2535). แนวทางพัฒนาการเกษตรระดับอำเภอ: อำเภอบ้านโฮ่ง. จังหวัดลำพูน กรุงเทพฯ .
__________________.แนวทางพัฒนาการเกษตรระดับอำเภอ: อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน กรุงเทพฯ.
สิทธิพร สุขเกษม, และสิทธิชัย รอดแก้ว. (2529). การศึกษาการใช้น้ำของข้าวนาดำ. วารสารเกษตร (2). 1: 47- 62.
สำนักงานปฏิรูปที่ดิน. (2535). แผนงานและงบประมาณโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำแม่อาว อันเนื่องมาจาก พระราชดำริ จังหวัดลำพูน กรุงเทพฯ.
__________________. (2536). แผนงานและผลงานการดำเนินการโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำแม่อาว อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดลำพูน กรุงเทพฯ.
__________________. (2535). แผนแม่บทโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำแม่อาวเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดลำพูน กรุงเทพฯ.
สำนักงานปฏิรูปที่ดินจังหวัดลำพูน. (2536). รายงานผลการดำเนินงานพัฒนารายได้ภาคเกษตรกรรมปี 2535 และแผนงานการดำเนินงานพัฒนารายได้ภาคเกษตรกรรมปี 2536. เอกสารเผยแพร่. กรุงเทพฯ.
สำนักงานส่งเสริมการปลูกป่า. (2535). เขตการใช้ประโยชน์ มาตรการและแนวทางการดำเนินงานพัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโครงการพัฒนาลุ่มน้ำแม่อาว อันเนื่องมาจากพระราชดำริ กรมป่า ไม้ กรุงเทพฯ