สายพันธุ์ลูกพลับที่เหมาะสมต่อการผลิตลูกพลับกึ่งแห้ง

Main Article Content

ไพโรจน์ วิริยจารี

บทคัดย่อ

ลูกพลับสด 4 สายพันธุ์ที่เป็นชนิดฝาดสามารถนำมาผลิตเป็นลูกพลับกึ่งแห้งได้ เช่น พันธุ์ Hachiya, Nightingale, Ang Sai (P3) และ Niu Scin (P4) โดยลูกพลับสดดังกล่าวควรผ่านกรรมวิธีการลดความฝาด  โดยวิธีบรรจุในบรรยากาศของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์  เพื่อลดปริมาณแทนนินที่ละลายได้ ก่อนที่จะนำมาผลิตเป็นลูกพลับกึ่งแห้ง  จากผลการทดลองพบว่าลูกพลับสดที่สามารถนำมาผลิตเป็นลูกพลับกึ่งแห้งควรมีค่าของแข็งที่ละลายได้ทั้งหมดประมาณร้อยละ 17-18 เมื่อนำมาผลิตเป็นลูกพลับกึ่งแห้งแล้วน้ำหนักจะลดลงร้อยละ 37-54 โดยมีความชื้นในผลิตภัณฑ์สุดท้ายร้อยละ 30-44 ความเป็นกรดทั้งหมดคิดเทียบกรดซิตริคร้อยละ 0.08-0.44 น้ำตาลรีดิวส์ร้อยละ 34-41 และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 21-135 ส่วนในล้านส่วน  ในด้านความนิยมของผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์ลูกพลับกึ่งแห้ง  พบว่าลูกพลับสายพันธุ์ที่มีการยอมรับมากที่สุด คือ Hachiya นอกจากนี้ยังมีสานพันธุ์อื่นๆ ที่มีการยอมรับสูงเช่นกัน เช่น พันธุ์ Nightingale, Ang Sai (P3) และ Niu Scin (PA) และสายพันธุ์ที่นำมาผลิตจะต้องผ่านการลดความฝาดมาก่อนด้วยลูกพลับสด 4 สายพันธุ์ที่เป็นชนิดฝาดสามารถนำมาผลิตเป็นลูกพลับกึ่งแห้งได้ เช่น พันธุ์ Hachiya, Nightingale, Ang Sai (P3) และ Niu Scin (P4) โดยลูกพลับสดดังกล่าวควรผ่านกรรมวิธีการลดความฝาด  โดยวิธีบรรจุในบรรยากาศของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์  เพื่อลดปริมาณแทนนินที่ละลายได้ ก่อนที่จะนำมาผลิตเป็นลูกพลับกึ่งแห้ง  จากผลการทดลองพบว่าลูกพลับสดที่สามารถนำมาผลิตเป็นลูกพลับกึ่งแห้งควรมีค่าของแข็งที่ละลายได้ทั้งหมดประมาณร้อยละ 17-18 เมื่อนำมาผลิตเป็นลูกพลับกึ่งแห้งแล้วน้ำหนักจะลดลงร้อยละ 37-54 โดยมีความชื้นในผลิตภัณฑ์สุดท้ายร้อยละ 30-44 ความเป็นกรดทั้งหมดคิดเทียบกรดซิตริคร้อยละ 0.08-0.44 น้ำตาลรีดิวส์ร้อยละ 34-41 และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 21-135 ส่วนในล้านส่วน  ในด้านความนิยมของผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์ลูกพลับกึ่งแห้ง  พบว่าลูกพลับสายพันธุ์ที่มีการยอมรับมากที่สุด คือ Hachiya นอกจากนี้ยังมีสานพันธุ์อื่นๆ ที่มีการยอมรับสูงเช่นกัน เช่น พันธุ์ Nightingale, Ang Sai (P3) และ Niu Scin (PA) และสายพันธุ์ที่นำมาผลิตจะต้องผ่านการลดความฝาดมาก่อนด้วย

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

พระราชบัญญัติอาหาร. (2522). กฎกระทรวงและประกาศกระทรวง. นิติเวชช์ กรุงเทพมหานคร.
วิริยจารี, ไพโรจน์. และหันพงศ์กิตติกุล, อรัญ. (2535). ปฏิบัติการอุตสาหกรรมการหมัก. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ศิวเวชช, ศิวาพร. (2524). วัตถุเจือปนในอาหาร (เล่ม 1). ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, คณะอุตสาหกรรมเกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
AOAC. 1984. Official Methods of Analysis (13rd ed.) Association of official Analytical Chemists, Washington, D.C.
Daveis, R., Birch, G.G., and Parker, K.J. (1976) .Intermediated Moisture Foods. Applied Science Publishers, Ltd., London.
Gatchalian, M.M. (1981). Sensory Evaluation Methods with Statistical Analysis. Collage of Home Economics, University of the Philippines, Philippines.
Institute of Food Technologists. (1981). Sensory evaluation guide for testing food and beverage products. Food Technology, 35(11)50-59.
Miller, G.L. (1959). Use of dinitrosalicylic acid reagent for determination of reducing sugars. Analyti- cal Chemistry, 31: 426-428.
Pearson, D. (1976). The Chemical Analysis of Foods. Churchill Livingstone. London and New York. Seow, C.C., Teng, T.T. and Quah, C.H. (1988). Food Preservation by Moisture Control. Elsevier Applied Science, London and New York.
Walonick, D.S. (1987). Stat-Packets. Walonick Associates Inc., Minneapoils, MN.