ลักษณะเนื้อซีด, เหลว และไม่คงรูปในสุกร
Main Article Content
บทคัดย่อ
เนื้อสุกรเป็นเนื้อสัตว์ที่นิยมบริโภคในประเทศไทย เนื่องมาจากราคาย่อมเยาและเนื้อนุ่มไม่เหนียว นอกจากนี้ผู้บริโภคยังให้ความสําคัญของคุณภาพการบริโภค ได้แก่ ความสามารถในการจับน้ำของเนื้อ สีของเนื้อ โครงสร้างและขนาดของเส้นใยกล้ามเนื้อ ซึ่งเนื้อสุกรที่ปกติจะมีสีชมพูอมเทา เนื้อไม่เหลว เนื้อคงสภาพเป็นรูป เป็นก้อนได้ ซึ่งเนื้อที่ผิดปกติจากนี้ที่มีสีซีด, เหลว และไม่คงรูป เรียกว่า PSE ซึ่งเกิดจากสาเหตุที่สําคัญ 2 ประการ คือ พันธุกรรม ที่พบมากในสุกรที่มีความเป็นกล้ามเนื้อสูง และ สภาพแวดล้อมของสุกรก่อนถูกฆ่า เช่น การขนส่งที่ยาวนาน การฆ่าสุกรแบบไม่มีมนุษยธรรมก่อให้เกิดความเครียดสูง อุณหภูมิของซากที่สูง และสุขภาพ ของสุกรที่ไม่สมบูรณ์
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
ปรีชา. (2528). เนื้อหมูเหลว ซีด น้ำไหลโกรก. วารสารสัตว์เศรษฐกิจ 3 (2) : 21 -25.
คันธพนิต, ชัยณรงค์. (2529), วิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์ บริษัทไทยวัฒนาพานิช จํากัด กรุงเทพฯ 468 น.
จัตตุพรพงษ์, สุกัญญา. (2531). การป้องกันการสูญเสียจากการขนย้าย. สุกรสาส์น 19 (25) : 68-72.
นันทชัย, เกษม. (2526). กล้ามเนื้อและเนื้อสัตว์, เอกสารประกอบการสอนวิชา 113 424 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอนแก่น, 93 น.
เศรษฐกุล จุฑารัตน์. (2531). กรรมวิธีการฆ่ามีผลต่อคุณภาพเนื้ออย่างไร. สุกรสาส์น 14(56) : 14-20.
ศรีพรหมมา, จุฑารัตน์, โอภาสพัฒนกิจ, ญาทิน (2531). อิทิพลของวิธีการฆ่าที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงระดับความเป็นกรดในเนื้อสุกร. อิทธิพลของวิธีการฆ่าแบบไทย วิธีที่ 1 และ วิธีการฆ่าแบบสากล. รายงานประชุมทางวิชาการ สาขาสัตว์ ครั้งที่ 26 มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ
Bate - Smith, E.C. and Bendol, J. (1949). Factors determenation the time cause of rigor motis. J. Physi. 110:47.
Currie, R.W. and Wolfe, F.H. (1979). Relationship between pH fall and initiation of isoto - nic contraction in post-mortem beef muscle. Can. J. Anim. Sci. 59: 639-647.
Forrest, J.C., Aberle, E.D., Hedrick, H.B., Judge, M.D. and Merkel, R.A. (1975). Principles of Meat. Science. W.H. Freeman and Co. San Francisco USA.
Jeacocke, R.I. (1977). The temperature dependence of an aerobic glycolysis in beef muscle held in a linear temperature gradient. J. Sci. Food Agric 28: 551.
Lawrie, R.A. (1974). Meat Sience 2d ed., Pergamon Press Inc., New York. 419 p.
Price, J.F. and Schweigert, B.S. (1971). The Science of Meat and Meat. Products. W.H. Freeman and Co., San transisco. 660 p.
Foley, R.C., Bath, D.L., Ickinson, F.N. and Tucher, H. (1972). Dairy Cattle : Principles, Problems, Pro fits. Lea and Febiger, Philadelphia.
McDowell, R.E. (1972). Improvement of Livestock Production in Warm Climates. W.H. Freeman and Company, San Francisco.
Quinn, T. (1980). Dairy Farm Management. Delmar Publishers, New York.
Reaves, P.M. and Henderson, H.O. (1963). Dairy Cattle Feeding and Management. 5th ed., John Wiley and Sons, Inc., New York.
Roy, J. H. B. (1980). The Calf. 4th ed., Butterworths, London.
Steel, R. G. D. and Torrie, J.H. (1980). Principles and Procedures of Statistics. 2nd ed., MeGraw-Hill International Book Company, Auckland.
Vanstone, E. and Dougall, B.M. (1980). Principles of Dairy Science. Cleaver-Hume Press Ltd., London
Villegas, V. (1939). Livestock Industries of Cochin china, Cambodia, Siam and Malays. Philippine Agriculturist 27: 693-725.
Villegas, V. and Cruz, C.E. (1958). Dairy qualities of Philippine cows. Philippine Agriculturist 41:459-498.
คันธพนิต, ชัยณรงค์. (2529), วิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์ บริษัทไทยวัฒนาพานิช จํากัด กรุงเทพฯ 468 น.
จัตตุพรพงษ์, สุกัญญา. (2531). การป้องกันการสูญเสียจากการขนย้าย. สุกรสาส์น 19 (25) : 68-72.
นันทชัย, เกษม. (2526). กล้ามเนื้อและเนื้อสัตว์, เอกสารประกอบการสอนวิชา 113 424 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอนแก่น, 93 น.
เศรษฐกุล จุฑารัตน์. (2531). กรรมวิธีการฆ่ามีผลต่อคุณภาพเนื้ออย่างไร. สุกรสาส์น 14(56) : 14-20.
ศรีพรหมมา, จุฑารัตน์, โอภาสพัฒนกิจ, ญาทิน (2531). อิทิพลของวิธีการฆ่าที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงระดับความเป็นกรดในเนื้อสุกร. อิทธิพลของวิธีการฆ่าแบบไทย วิธีที่ 1 และ วิธีการฆ่าแบบสากล. รายงานประชุมทางวิชาการ สาขาสัตว์ ครั้งที่ 26 มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ
Bate - Smith, E.C. and Bendol, J. (1949). Factors determenation the time cause of rigor motis. J. Physi. 110:47.
Currie, R.W. and Wolfe, F.H. (1979). Relationship between pH fall and initiation of isoto - nic contraction in post-mortem beef muscle. Can. J. Anim. Sci. 59: 639-647.
Forrest, J.C., Aberle, E.D., Hedrick, H.B., Judge, M.D. and Merkel, R.A. (1975). Principles of Meat. Science. W.H. Freeman and Co. San Francisco USA.
Jeacocke, R.I. (1977). The temperature dependence of an aerobic glycolysis in beef muscle held in a linear temperature gradient. J. Sci. Food Agric 28: 551.
Lawrie, R.A. (1974). Meat Sience 2d ed., Pergamon Press Inc., New York. 419 p.
Price, J.F. and Schweigert, B.S. (1971). The Science of Meat and Meat. Products. W.H. Freeman and Co., San transisco. 660 p.
Foley, R.C., Bath, D.L., Ickinson, F.N. and Tucher, H. (1972). Dairy Cattle : Principles, Problems, Pro fits. Lea and Febiger, Philadelphia.
McDowell, R.E. (1972). Improvement of Livestock Production in Warm Climates. W.H. Freeman and Company, San Francisco.
Quinn, T. (1980). Dairy Farm Management. Delmar Publishers, New York.
Reaves, P.M. and Henderson, H.O. (1963). Dairy Cattle Feeding and Management. 5th ed., John Wiley and Sons, Inc., New York.
Roy, J. H. B. (1980). The Calf. 4th ed., Butterworths, London.
Steel, R. G. D. and Torrie, J.H. (1980). Principles and Procedures of Statistics. 2nd ed., MeGraw-Hill International Book Company, Auckland.
Vanstone, E. and Dougall, B.M. (1980). Principles of Dairy Science. Cleaver-Hume Press Ltd., London
Villegas, V. (1939). Livestock Industries of Cochin china, Cambodia, Siam and Malays. Philippine Agriculturist 27: 693-725.
Villegas, V. and Cruz, C.E. (1958). Dairy qualities of Philippine cows. Philippine Agriculturist 41:459-498.