ผลของการเก็บรักษาพันธุ์และการใช้สารเคมีต่อคุณภาพของเกลดิโอลัส

Main Article Content

ดนัย บุณยเกียรติ
ยงยุทธ ข้ามสี่

บทคัดย่อ

ดอกแกลดิโอลัสพันธุ์ Red Majesty, Friendship และ Legend เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 5o เซลเซียสความชื้นสัมพัทธ์ 85 เปอร์เซ็นต์ หลังจากนั้นจึงนำไปแช่ในสารละลายที่ประกอบด้วย 8 Hydroxyquinoline 250 ppm, AgNO3 50 ppm, Aluminium Sulfate 300 ppm, กรด Citric 30 ppm และน้ำตาล Sucrose 20 เปอร์เซนต์นาน 24 ชั่วโมงปรากฏว่าการเก็บรักษานาน 4 วันไม่ทำให้คุณภาพของดอกต่างจากการเก็บรักษานาน 2 วันดอกแกลดิโอลัสพันธุ์ Red Majesty, Friendship และ Legend มีอายุการปักแจกัน 9.11, 10.61 และ 11.44 วันตามลำดับสารละลายดังกล่าวนอกจากจะสามารถปรับปรุงคุณภาพของดอกให้ดีขึ้นแล้วยังเพิ่มอายุการปักแจกันจาก 9.28 วันเป็น 11.50 วันอีกด้วยอ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

บุณยเกียรติ, ดนัย, ข้ามสี่, ยงยุทธ, (2531). การใช้สารเคมีในการปรับปรุงคุณภาพในการปักแจกันของดอกแกลดิโอลัสเบญจมาศ และ เยอบีรา: เอกสารการประชุมสัมมนาทางวิชาการเรื่องเครื่องมือและเทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 165-172.
Boonyakiat, D., Smitamana, P. and Smitamana, P. (1986). Post-harvest Handling of Highland Produce to Develop Economically Viable Crops to Replace Opium Based Agriculture. Fac. of Agriculture, Chiang Mai University. 23 pp.
Halevy, A.H. and Mayak, S. (1979). Senescence and Postharvest Physiology of Cut vy, Flowers, Part 1. Hort. Rev. 1: 204-236.
Halevy, A.H. and Mayak, S. (1981). Senescence and Postharvest Physiology of Cut Flowers, Part II. Hort. Rev. V. 3: 59-143.
Lutz, J.M. and Hardenburg, R.E. (1977). The Commercial Storage of Fruits, Vegetable, Florist and Nursery Stocks. USDA. Agri. handbook 66.94 pp.
Reid, M.S. and Lukaszewski, T.A. (1987). Postharvest Care and Handling of Cut Flowers. (In Press.)