การยอมรับบะหมีสูตรแป้งสาลีผสม

Main Article Content

อรุณี อภิชาติสรางกูร
สากันย์ สุวรรณการสาย

บทคัดย่อ

ทดสอบบะหมี่ทดลอง 24 สูตรโดยใช้ผู้ทดสอบ 6 คนซึ่งผู้ทดสอบเหล่านี้ได้ผ่านการทดสอบและอบรมแล้วให้ผู้ทดสอบชิมบะหมีสูตรทดลอง 6 ครั้ง ๆ ละ 4 สูตรโดยในการชิมบะหมี่ทดลองแต่ละสูตรต้องชิมเปรียบเทียบกับสูตรบะหมีมาตรฐานซึ่งทำจากแป้งสาลีขาว 100% บะหมีทดลองทุกสูตรจะผสมจากแป้งสาลี 2 ชนิดคือแป้งสาลีขาวหนึ่งชนิดอาจเป็นแป้งสาลีตรากำแพงเมืองจีนหรือตราหัวกวางผสมกับแป้งสาลีจากข้าวสาลีพันธุ์สะเมิง 2 หรือฝาง 60 ชนิดใดชนิดหนึ่ง


ผลการศึกษาปรากฏว่า บะหมีทดลองแต่ละสูตรมีความแตกต่างกันมากโดยเฉพาะสีของบะหมีทั้งก่อนและหลังลวกยกเว้นความเหนียวและความละเอียดของเนื้อเส้นบะหมีในแต่ละสูตรที่ไม่ต่างกันอย่างเด่นชัด ทั้งนี้ ผู้ทดสอบแต่ละคนมีความคิดเห็นอย่างอิสระ นอกจากนี้ยังพบอีกว่าผู้ทดสอบมีความเห็นตรงกันเกี่ยวกับ ความเหนียว ความยืดหยุ่น และสีของบะหมีหลังลวกส่วนตัวแปรอื่นมีความเห็นต่างกันผลการหาค่าสหสัมพันธ์พบว่าความเหนียวกับความยืดหยุ่นและสีของบะหมีสุดก่อนลวกกับหลังลวก มีความสัมพันธ์กันปานกลาง ส่วนสีบะหมีสุดกับสีบะหมีที่เก็บไว้ 24 ชั่วโมง แล้วนำมาลวกมีความสัมพันธ์กันค่อนข้างสูง ข้อมูลทั้งหมดทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ P <0.01 1 1

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Lee, C.H., Gore, P.J., Lee, H.D., Yoo, B.S. and Hong, S.H. (1987). Utilisation LED of Australian wheat for Korean style dired noodle making. J. of Cereal Sci. 6: 283-297.
Lee, C.H. and Kim, C.W. (1983). Studies on the rheological property of Korean noodles (1) Viscoelastic behaviour of wheat flour noodle and wheat sweet potato-starch noodle. Korean J. of Fd. Sci and Tech.15 (2): 183-188.
Matsuo, R.R. and Irvine, G.N. (1969). Spaghetti tenderness testing apparatus Cereal Chem. 46: 1-6.
Matsuo, R.R. and Irvine, G.N. (1971). Note on an inproved apparatus for testing spaghetti tenderness. Cereal Chem. 48: 554-558.
Miskelly, D.M. (1984). Flour components affecting paste and noodle colour. J. of the Sci. of Fd. and Agri. 35 (4): 463-471.
Morrison, D.F. (1976). Multivariate Statistical Methods. (2nd ed) Mc. Graw-Hill International Book Company.
Oda, M., Yasada, Y., Okazaki, S., Yamauchi, Y. and Yokoyama, Y. (1980) A Method of flour quality assessment for Japanese noodles. Gereal Chem. 5- 7 (4): 253-254.
Oh, N.H., Seib, P.A., Deyoe, C.W. and Ward, A.B. (1983). Noodles (I) Measuring the textural characteristics of cooked noodles. Cereal Chem. 60 (6): 433 438.
Oh, N.H., Seib, P.A., Deyoe, C.W. and Ward, A.B. (1985). Noodles the surface firmness of cooked noodles from soft and hard wheat flours. Cereal Chem. 62 (6): 431-436.
Oh, N.H., Seib, P.A., Ward, A.B., Deyoe, C.W. (1985). Noodles influence of flour protein, extraction rate, particle size, and starch damage on the quality charac- teristics of dry noodles. Cereal Chem. 62 (6): 411-446.
Shimizu, T., Fukawa, H., and Ichida, A. (1958). Physical properties of noodles. Cereal Chem. 35: 34-45.
Walsh, D.E. (1971). Measuring spaghetti firmness. Cereal Sci Today. 16 (7): 202-205.