ความชุกของการติดเชื้อ Ehrlichia canis, Hepatozoon canis, Babesia canis Anaplasma platys และ Trypanosoma evansi ในสุนัขในจังหวัดเชียงใหม่

ผู้แต่ง

  • วศิน เจริญตัณธนกุล สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่
  • เพ็ญนภา ตาคำ สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่
  • วิลาวรรณ เรือนสิทธิ์ สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่
  • Dante Fabros Jr. สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่
  • พิชานันท์ สืบสอาด สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่
  • อรอนงค์ เส้งเล่า สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่
  • ทิพย์กมล ธิการาช สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่
  • วรพัฒน์ ประชาศิลป์ชัย ภาควิชาคลินิกสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่
  • ชลลดา โสดารัตน์ ภาควิชาคลินิกสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่
  • พชรพร ตาดี คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่
  • ไพโรจน์ พงศ์กิดาการ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่
  • ปัฐมา เจริญตัณธนกุล คลินิกสัตวแพทย์ปัฐ เชียงใหม่
  • รัญจวน อิสรรักษ์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา สงขลา
  • เรือนแก้ว ประพฤติ สถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่

คำสำคัญ:

ความชุก , พยาธิในเลือด , สุนัข, เชียงใหม่ , ปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรสแบบมัลติเพล็กซ์

บทคัดย่อ

          การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจการติดเชื้อก่อโรคพยาธิในเลือดในสุนัขในจังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้ปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรสแบบมัลติเพล็กซ์ที่พัฒนาขึ้นในห้องปฏิบัติการ และเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการให้บริการทางสัตวแพทย์ของคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้  ทำการเจาะเก็บตัวอย่างเลือดสุนัขจำนวน 870 ตัว จาก 19 อำเภอ นำมาตรวจหาสารพันธุกรรมของยีน VirB9 ของเชื้อ Ehrlichia canis ยีน 18S rRNA ของเชื้อ Hepatozoon canis และ Babesia canis และยีน groEl ของเชื้อ Anaplasma platys ด้วยปฏิกิริยาลูกโซ่         โพลิเมอเรสแบบมัลติเพล็กซ์ และยีน VSG ของเชื้อ Trypanosoma evansi ด้วยปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรส พบสุนัขติดเชื้อ H. canis มากที่สุด (331 ตัว: ร้อยละ 56.7) รองลงมาคือ E. canis (6 ตัว: ร้อยละ 1) A. platys (5 ตัว: ร้อยละ 0.9) และ B. canis (2 ตัว: ร้อยละ 0.3) ตามลำดับ สุนัขบางตัวติดเชื้อตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป ได้แก่   H. canis + B. canis (191 ตัว: ร้อยละ 32.7) รองลงมาคือ E. canis + H. canis (15 ตัว: ร้อยละ 2.6) H. canis +   A. platys (12 ตัว: ร้อยละ 2.1) E. canis + H. canis +     B. canis (8 ตัว: ร้อยละ 1.4) H. canis + B. canis + A. platys (8 ตัว: ร้อยละ 1.4) E. canis + H. canis + A. platys (2 ตัว: ร้อยละ 0.3) และ E. canis + H. canis + B. canis  + A. platys (4 ตัว: ร้อยละ 0.7)  ไม่พบการติดเชื้อ T. evansi ในสุนัขทั้งหมดที่ศึกษา การติดเชื้อก่อโรคพยาธิในเลือด ไม่มีความสัมพันธ์กับเพศและช่วงอายุของสุนัข แต่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการมีหน่วยบริการทางสัตวแพทย์ใกล้บ้านในระยะ 10 กิโลเมตร 

References

Baneth, G. 2011. Perspectives on canine and feline hepatozoonosis. Veterinary Parasitology 181(1): 3-11.

Baneth, G., S. Harrus, A. Gal and I. Aroch. 2015. Canine vector-borne co-infections: Ehrlichia canis and Hepatozoon canis in the same host monocytes. Veterinary Parasitology 208(1): 30-34.

Carrade, D.D., J.E. Foley, D.L. Borjesson and J.E. Sykes. 2009. Canine granulocytic anaplasmosis: a review. Journal of Veterinary Internal Medicine 23: 1129-1141.

Chomel, B. 2011. Tick-borne infections in dogs-an emerging infectious threat. Veterinary Parasitology 179(4): 294-301.

Jittapalapong, S., O. Rungphisutthipongse, S. Maruyama, J.J. Schaefer and R.W. Stich. 2006. Detection of Hepatozoon canis in stray dogs and cats in Bangkok, Thailand. Annals of the New York Academy of Sciences 1081: 479-488.

Juasook, A., T. Boonmars, P. Sriraj, R. Aukkanimart, T. Jitjuk, P. Sudsarn and W. Maleewong. 2016. Prevalence of tick-borne pathogens in quarantined dogs at Nakornpranom animal quarantine station, Thailand. Journal of Mahanakorn Veterinary Medicine 11(1): 1-9.

Laummaunwai, P., P. Sriraj, R. Aukkanimart, T. Boonmars, S. Boonjaraspinyo, S. Sangmaneedet, P. Potchimplee, P. Khianman and W. Maleewong. 2014. Molecular detection and treatment of tick-borne pathogens in domestic dogs in Khon Kaen, Northeastern Thailand. The Southeast Asian Journal of Tropical Medicine and Public Health 45(5): 1157-1166.

Little, S.E. 2010. Ehrlichiosis and anaplasmosis in dogs and cats. Veterinary Clinics of North America; Small Animal Practice 40(6): 1121-1140.

Liu, M., N. Ruttayaporn, V. Saechan, C. Jirapattharasate, P. Vudriko, P.F.A. Moumouni and H. Suzuki. 2016. Molecular survey of canine vector-borne diseases in stray dogs in Thailand. Parasitology International 65(4): 357-361.

Nithikadpanich, C., P. Takam and W. Charerntantanakul. 2019. Development of multiplex polymerase chain reaction for simultaneous detection of Ehrlichia canis, Hepatozoon canis and Babesia canis in canine blood. Journal of Agricultural Research & Extension 36(2): 80-90. [in Thai]

Pantchev, N., S. Pluta, E. Huisinga, S. Nather, M. Scheufelen, M.G. Vrhovec, A. Schweinitz, H. Hampel and R.K. Straubinger. 2015. Tick-borne diseases (Borreliosis, Anaplasmosis, Babesiosis) in German and Austrian dogs; status quo and review of distribution, transmission, clinical findings, diagnostics and prophylaxis. Parasitology Research 114(Suppl.1): S19-54.

Piratae, S., K. Pimpjong, K. Vaisusuk and W. Chatan. 2015. Molecular detection of Ehrlichia canis, Hepatozoon canis and Babesia canis vogeli in stray dogs in Mahasarakham province, Thailand. Annals of Parasitology 61(3): 183-187.

Piratae, S., P. Senawong, , P. Chalermchat, W. Harnarsa and B. Sae-chue. 2019. Molecular evidence of Ehrlichia canis and Anaplasma platys and the association of infections with hematological responses in naturally infected dogs in Kalasin, Thailand. Veterinary World 12(1): 131.

Ravindran, R., J.R. Rao, A.K. Mishra, K.M.L. Pathak, N. Babu, C.C. Satheesh and R. Rahul. 2008. Trypanosoma evansi in camels, donkeys and dogs in India: comparison of PCR and light microscopy for detection. Veterinarski Arhiv 78: 89-94.

Skotarczak, B. 2003. Canine ehrlichiosis. Annals of Agricultural and Environmental Medicine 10: 137-141.

Solano-Gallego, L., A. Sainz, X. Roura, A. Estrada-Peña and G. Miró. 2016. A review of canine babesiosis: the European perspective. Parasites & Vectors 9(1): 336.

Suksawat, J., Y. Xuejie, S.I. Hancock, B.C. Hegarty, P. Nilkumhang and E.B. Breitschwerdt. 2001. Serologic and molecular evidence of coinfection with multiple vector-borne pathogens in dogs from Thailand. Journal of Veterinary Internal Medicine 15(5): 453-462.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

22-08-2022