ข้าวเหนียวเดอกริล: การพัฒนาวิสาหกิจชุมชนข้าวอินทรีย์ในยุคดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • ธัญลักษณ์ เมืองโคตร คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ สกลนคร
  • เปรมฤดี จิตรเกื้อกูล คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ สกลนคร
  • ศิรินนา คำทะเนตร คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ สกลนคร
  • บุษกร ครจำนงค์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ สกลนคร
  • พัชราภรณ์ ถิ่นจันทร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน นครปฐม
  • ตติยาภรณ์ ศิริศักดากุล Faculty of Economics, University of Porto, Porto, Portugal
  • กุลวดี แก้วก่า คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ สกลนคร
  • พัดชา เศรษฐากา คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ สกลนคร
  • รุ่งทวี ผดากาล คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ สกลนคร
  • มยูรกาญจน์ เดชกุญชร คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ สกลนคร

คำสำคัญ:

ข้าวเหนียว , การเรียนรู้ , ผู้ประกอบการ , ข้าวอินทรีย์ , การตลาดดิจิทัล

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีเป้าหมายในการเพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการข้าวอินทรีย์ ด้วยกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วมกับวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์กลุ่ม “ดาวล้อมเดือน” ในจังหวัดสกลนคร จำนวน 50 ราย ผ่านกระบวนการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการโดยใช้การฝึกอบรม การสาธิต การศึกษาดูงาน และการใช้เอกสารคู่มือ เพื่อยกระดับความเป็นผู้ประกอบการใน 4 หลักสูตร ได้แก่ การผลิตข้าวอินทรีย์ต้นทุนต่ำ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวเหนียว การตลาดดิจิทัล และการดำเนินชีวิตตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ผู้ประกอบการได้รับการติดตามและให้คำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญอย่างใกล้ชิด ให้สามารถผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ สร้างงานสร้างรายได้ และสร้างระบบการบริหารจัดการให้ผู้ประกอบการสามารถผลิตและจำหน่าย ซีเรียลบาร์ข้าว (ธัญพืชชนิดแท่ง) ข้าวเกรียบว่าวธัญพืช และข้าวต้มมัดญวน ในตลาดทั้งออนไลน์และออฟไลน์ได้ อีกทั้งผู้ประกอบการได้รับคำปรึกษาเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิม ให้สามารถจำหน่ายในตลาดมากขึ้น ได้แก่ ข้าวฮาง ข้าวเหนียวอินทรีย์ ข้าวหอมมะลิอินทรีย์ ผลการดำเนินงานพบว่า หลังการถ่ายทอดความรู้กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด     มีความรู้ความสามารถเพื่อเป็นผู้ประกอบการเพิ่มขึ้น เกิดผลิตภัณฑ์แปรรูปเพื่อเพิ่มรายได้หลังฤดูกาลทำนา และสมาชิกมีรายได้เฉลี่ยเพิ่มขึ้น จากรายได้เฉลี่ย 2,368 บาท/คน/เดือน เพิ่มขึ้น 2,818 บาท/คน/เดือน รายได้เพิ่มขึ้น 450 บาท/คน/เดือน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 19

References

Kongtanajaruanun, R. and A. Cheamuangphan. 2021. The strength of farmer groups participating in arge agricultural land plots on rice farming in Chiang Rai province. Journal of Agricultural Research and Extension 38(3): 182-193. [in Thai]

Nakruang, D. and K. Donkwa. 2018. The causal factors influencing innovation performance of small and medium enterprises in Nakhon Ratchasima province. University of the Thai Chamber of Commerce Journal 38(2): 17-34. [in Thai]

National Organic Agriculture Development Board. 2017. National Organic Agriculture Development Strategy (2014-2018). Bangkok: Office of The Permanent Secretary for Ministry of Agriculture and Cooperatives. 12 p. [in Thai]

Pratumsuwan, K. and P. Phansiri. 2021. Social enterprise based on cultural capital for sustainable development. University of the Thai Chamber of Commerce Journal 41(3): 88-101. [in Thai]

Sakon Nakhon Provincial Agriculture Office. 2019. Sakon Nakhon province agricultural development plan 2020-2021. [Online]. Available http://www.sakonnakhon.doae.go.th/

(October 25, 2023). [in Thai]

Sawangjit, W. 2021. The farmer competency development towards new generation of farmers. Journal of Agricultural Research and Extension 38(1): 126-134. [in Thai]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

25-08-2024