ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเครื่องหมาย อย. ของผู้บริโภคในผลิตภัณฑ์อาหาร

Main Article Content

วิยุวรรณ กอบัว
ปัญญา หมั่นเก็บ
ธำรงค์ เมฆโหรา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเครื่องหมาย อย. ของผู้บริโภคในผลิตภัณฑ์
อาหาร เป็นการวิจัยเชิงสำรวจโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน
410 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่ม
ตัวอย่างเป็นเพศหญิงมากที่สุด (ร้อยละ 57.80) มีอายุเฉลี่ย 29 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 61.20)
สถานภาพโสด (ร้อยละ 70.05) รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 17,800 บาท ได้รับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับ อย. จากแหล่งโทรทัศน์วิทยุ
มากที่สุด (ร้อยละ 57.10) การรับรู้ ทัศนคติ และการยอมรับเครื่องหมาย อย.อยู่ในระดับปานกลาง จากการทดสอบ
สมมติฐานพบว่ามีเพียงปัจจัยด้านทัศนคติที่มีผลต่อการยอมรับเครื่องหมาย อย. ในผลิตภัณฑ์อาหารอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ (p<0.01)

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จุรรี ตั น์ ห่อเกียรติ นอ้ งนชุ ศริ ิวงศ ์ และ สิรพิ ันธุ์ จุลกรังคะ. 2555. ปจั จัยทีม่ ผี ลตอ่ การรบั รแู้ ละความเข้าใจเกี่ยวกับสญั ลกั ษณ์ทางโภชนาการ
แบบ GDA บนฉลากขนมขบเขี้ยว : กรณีศึกษา อย. น้อย. ใน เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ครั้งที่ 50 สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์, สาขาพืช. กรุงเทพฯ, หน้า 34-41.
นิตยาสารชีวจิต. 2552. 4 ข้อควรปฏิบัติก่อนการเลือกซื้ออาหารนอกบ้าน. [Online]. Available: http://www.lib.ru.ac.th/ miscell/
before_buy_food.html [5 พฤศจิกายน 2557].
นิตยาสารเพื่อนแพน. 2556. รู้ทันผลิตภัณฑ์สุขภาพกับเครื่องหมาย อย. [Online]. Available: http://www. panclinic.com/ detail_tip_
panclinic.asp?MID=92&CID=31[5 พฤศจิกายน 2557].
พรนับพัน สุนทรไชยา. 2550. การยอมรับเครื่องหมาย Q Mark ของผู้บริโภคในสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. การศึกษาค้นคว้าอิสระ ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาส่งเสริมการเกษตร. มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์.
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. 2557. หน้าที่รับผิดชอบของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. [Online]. Available:
http://www.fda.moph.go.th/www_fda/newweb/fda_data.php?Submit=Clear&ID_Wsc_ Fda_Data=5. [5 พฤศจิกายน 2557].
สุชัยยัณต์ โชติพันธ์. 2552. เปรียบเทียบปัจจัยพื้นฐานต่อความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมเกี่ยวกับระบบบริหารคุณภาพมาตรฐาน (ISO
9001:2000) ของพนักงานบริษัทฮาร์ดฟอร์ดเพนท์ จำกัด. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์เพื่อพัฒนา,
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
โอปอล์ สุวรรณเมฆ และ ปัญญา หมั่นเก็บ. 2554. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับการปลูกข้าวอินทรีย์
ของเกษตรกรในจังหวัดสุรินทร์. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยการบริหารและจัดการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
หทัย ศรีสิงห์. 2551. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับการปลูกข้าวอินทรีย์ของชาวนา ตามโครงการเกษตรอินทรีย์ อำเภอบางปลาม้า
จังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหบัณฑิต สาขาพัฒนศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปกร.
Cochran, W.G. 1953. Sampling Techniques. New York : John Wiley & Sons, Inc.
Fakoya, E.O., M.U. Agbonlahor and A.O. Dipeolu. 2007. Attitudte of women farmers towards sustainable land management
practices in South-Western Nigeria. Word Journal of Agriculture Sciences. 3(4): 536-542.
02