การตรวจวินิจฉัยเชื้อแบคทีเรียก่อโรคที่ระบาดในฟาร์มปลานิล โดยใช้เทคนิคพีซีอาร์-อาร์เอฟแอลพี

Main Article Content

จาตุรนต์ ป้องน้ำไผ่
ชนกันต์ จิตมนัส

บทคัดย่อ

โรคติดเชื้อแบคทีเรียสร้างความเสียหายให้กับธุรกิจเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจำนวนมาก การตรวจวินิจฉัยโรคที่ถูกต้องและรวดเร็วจะมีส่วนช่วยในการป้องกันรักษาโรคสัตว์น้ำ งานวิจัยนี้เป็นการจำแนกเชื้อแบบดั้งเดิมเปรียบเทียบกับการตรวจด้วยวิธีพีซีอาร์-อาร์เอฟแอลพี จากการศึกษา พบว่า การตายของปลาในฟาร์มเพาะเลี้ยงปลาในภาคเหนือของประเทศไทย เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียหลายชนิด เพราะสามารถแยกเชื้อได้หลายชนิดพร้อมกัน ซึ่งเชื้อแบคทีเรียที่พบบ่อยที่สุด คือ Flavobacterium columnare, Aeromonas sp. และ Streptococcus sp. เชื้อแบคทีเรียบางชนิดสามารถตรวจสอบได้จากอาการของปลาที่ติดเชื้อแบคทีเรีย หรือการทำสไลด์เปียก (wet mount) การใช้เทคนิคพีซีอาร์-อาร์เอฟแอลพี เป็นเพียงตัวช่วยเพื่อยืนยันชนิดของเชื้อโรค ซึ่งน่าจะเหมาะสมสำหรับการตรวจเชื้อไวรัสแฝงมากกว่า อย่างไรก็ตาม การป้องกันโรคโดยการบริหารจัดการเลี้ยงที่ดีเป็นสิ่งที่จำเป็น เนื่องจากการรักษาโรคสัตว์น้ำทำได้ยาก

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เกตุนภัส ศรีไพโรจน์ รุ่งกานต์ กล้าหาญ พงศ์นรินทร์ เมฆขุนทด และ ทองอยู่ อุดเลิศ. 2556. การเปรียบเทียบอัตราการเจริญเติบโตของสายพันธุ์ปลานิลที่เลี้ยงในจังหวัดพะเยา. วารสารเกษตร 29(2): 137-144.
เกวลิน หนูฤทธิ์. 2559. สถานการณ์ปลานิลและผลิตภัณฑ์ปี 2556 และแนวโน้มปี 2557. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://fishco. fisheries.go.th/fisheconomic/Doc/fishnews_169.pdf (12 ตุลาคม 2559).
คณนา อาจสูงเนิน. 2559. การสำรวจรูปแบบการเพาะเลี้ยงปลาเชิงพาณิชย์ในหมู่บ้านปงหลวง อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย. วารสารเกษตร 32(3): 409-419.
ชนกันต์ จิตมนัส. 2548. โรคปลา. เอกสารประกอบการสอนคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ. มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่, 156 หน้า.
ชนกันต์ จิตมนัส. 2556. โรคปลานิล. เชียงใหม่สัตวแพทยสาร 11(1): 75-86.
ชาญณรงค์ รอดคำ. 2559. โรคติดเชื้อแบคทีเรียในปลา. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://www. micro.vet.chula.ac.th/index.php/doc/doc_download/57- (13 ตุลาคม 2559).
นิลุบล กิจอันเจริญ ชุติมา หาญจวณิช และ นงนุช สุวรรณเพ็ง. 2549. ประสิทธิภาพของการให้วัคซีนที่ผลิตจากเชื้อ Streptococcus agalactiae ในการป้องกันโรคสเตรปโตคอคโคซีสในปลานิล. วารสารวิจัย มข. 11(1): 53-61.
Altinok, I., E. Capkin and S. Kayis. 2008. Development of multiplex PCR assay for simultaneous detection of five bacterial fish pathogens. Veterinary Microbiology 131(3-4): 332-338.

Angka, S.L., T.J Lam and Y.M. Sin. 1995. Some virulence characteristics of Aeromonas hydrophila in walking catfish (Clarias gariepinus). Aquaculture 130(2): 103-112.
Beaz-Hidalgo, R., A. Alperi, N. Buján, J.L. Romalde and M.J. Figueras. 2010. Comparison of phenotypical and genetic identification of Aeromonas strains isolated from diseased fish. Systematic and Applied Microbiology 33(3): 149-153.
Bullock, G.L., T.C. Hsu and E.B. Shotts Jr. 1986. Columnaris disease of fishes. Fish Disease Leaflet 72, Fish and Wildlife Service, United States Department of Interior, Washington, D.C. 9 p.
Darwish, A.M. and A.A. Ismaiel. 2005. Genetic diversity of Flavobacterium columnare examined by restriction fragment length polymorphism and sequencing of the 16S ribosomal RNA gene and the 16S-23S rDNA spacer. Molecular and Cellular Probes 19(4): 267-274.
Decostere, A., F. Haesebrouck and L.A. Devriese. 1997. Shieh medium supplemented with tobramycin for selective isolation of Flavobacterium columnare (Flexibacter columnaris) from diseased fish. Journal of Clinical Microbiology 35(1): 322-324.
Dong, H.T., V.V. Nguyen, H.D. Le, P. Sangsuriya, S. Jitrakorn, V. Saksmerprome, S. Senapin and C. Rodkhum. 2015. Naturally concurrent infections of bacterial and viral pathogens in disease outbreaks in cultured Nile tilapia (Oreochromis niloticus) farms. Aquaculture 448: 427-435.
Grabowski, L.D., S.E. LaPatra and K.D. Cain. 2004. Systemic and mucosal antibody response in tilapia, Oreochromis niloticus (L.), following immunization with Flavobacterium columnare. Journal of Fish Diseases 27(10): 573-581.
Ismail, N.I.A., M.N.A. Amal, S. Shohaimi, M.Z. Saad and S. Z. Abdullah. 2016. Associations of water quality and bacteria presence in cage cultured red hybrid tilapia, Oreochromis niloticus × O. mossambicus. Aquaculture Reports 4: 57-65.
Ji, N., B. Peng, G. Wang, S. Wang and X. Peng. 2004. Universal primer PCR with DGGE for rapid detection of bacterial pathogens. Journal of Microbiological Methods 57(3): 409-413.