การศึกษาทางเนื้อเยื่อวิทยากับการพัฒนาตาดอกของเอื้องพร้าว
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาทางเนื้อเยื่อวิทยากับการพัฒนาตาดอกของเอื้องพร้าว พบว่าในระยะที่เริ่มเห็นตาดอกที่บริเวณโคนของหัวด้วยตาเปล่าในเดือนตุลาคม (สัปดาห์ที่ 1) ภายในตาดอกประกอบด้วย เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด และมีการพัฒนาใบประดับแล้ว ต่อมาพบจุดกำเนิดใบประดับเพิ่มขึ้นในสัปดาห์ที่ 4 และเริ่มมีการเกิดของจุดกำเนิดดอกในสัปดาห์ที่ 5 ต่อมาจุดกำเนิดดอก มีการพัฒนาเป็นส่วนของกลีบนอก (sepal) กลีบปาก (lip) กลีบดอก (petal) และเส้าเกสร (column) ในสัปดาห์ที่ 10 ส่วนเนื้อเยื่อผนังกั้นเกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย (rostellum) เกิดในสัปดาห์ที่ 12 โดยยังไม่พบการเกิดเกสรเพศผู้ และเพศเมีย
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
นิภาพร ชัยหนุ. 2541. การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของกล้วยไม้ดินบางชนิดในสกุลลิ้นมังกรและนางอั้ว. ปัญหาพิเศษปริญญาโท ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 44 หน้า.
พวงผกา สุนทรชัยนาคแสง. 2548. กายวิภาคและสัณฐานวิทยาของพืชมีดอก. สำนักพิมพ์ท็อป, กรุงเทพฯ. 380 หน้า.
ลิลลี่ กาวีต๊ะ. 2546. การเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานและพัฒนาการของพืช. สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 320 หน้า
สมบุญ เตชะภิญญาวัฒน์. 2548. สรีรวิทยาของพืช. จามจุรีโปรดักท์, กรุงเทพฯ. 252 หน้า.
โสระยา ร่วมรังสี. 2544. สรีรวิทยาไม้ดอก. โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, กรุงเทพฯ.100 หน้า.
อบฉันท์ ไทยทอง. 2549. กล้วยไม้เมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 11. อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พลับลิชชิ่ง, กรุงเทพฯ. 461 หน้า.
Esau, K. 1977. Anatomy of Seed Plants. John Wiley & Sons, New York. 550 pp.
Hew, C. S. and J.W. H. Yong. 2004. The Physiology of Tropical Orchids in Relation to the Industry end ed. World Scientific Publishing Co., River Edge. 370 pp.
Johansen, D.A. 1940. Plant Microtechnique. McGraw-Hill Book Co., Inc., New York. 523 pp.
Rotor, G., Jr. and L.H. MacDaniels. 1951. Flower bud differentiation and development in Cattleya labiata Lindl. American Journal of Botany 38: 147-152.
พวงผกา สุนทรชัยนาคแสง. 2548. กายวิภาคและสัณฐานวิทยาของพืชมีดอก. สำนักพิมพ์ท็อป, กรุงเทพฯ. 380 หน้า.
ลิลลี่ กาวีต๊ะ. 2546. การเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานและพัฒนาการของพืช. สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 320 หน้า
สมบุญ เตชะภิญญาวัฒน์. 2548. สรีรวิทยาของพืช. จามจุรีโปรดักท์, กรุงเทพฯ. 252 หน้า.
โสระยา ร่วมรังสี. 2544. สรีรวิทยาไม้ดอก. โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, กรุงเทพฯ.100 หน้า.
อบฉันท์ ไทยทอง. 2549. กล้วยไม้เมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 11. อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พลับลิชชิ่ง, กรุงเทพฯ. 461 หน้า.
Esau, K. 1977. Anatomy of Seed Plants. John Wiley & Sons, New York. 550 pp.
Hew, C. S. and J.W. H. Yong. 2004. The Physiology of Tropical Orchids in Relation to the Industry end ed. World Scientific Publishing Co., River Edge. 370 pp.
Johansen, D.A. 1940. Plant Microtechnique. McGraw-Hill Book Co., Inc., New York. 523 pp.
Rotor, G., Jr. and L.H. MacDaniels. 1951. Flower bud differentiation and development in Cattleya labiata Lindl. American Journal of Botany 38: 147-152.