การชะลอการสุกและการแตกของผลทุเรียนพันธุ์หมอนทองโดยการเคลือบผิวด้วยอีมัลชัน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การเคลือบผิวผลทุเรียนพันธุ์หมอนทองด้วยสารอีมัลชั่น ซึ่งประกอบด้วยน้ำมันปาล์ม โอลีอีนและน้ำ โดยใช้ไข่แดงเป็นสารอีมัลซิไฟเออร์ ในอัตราส่วน 7:3 1:1 3:7 1:4 1:9 และ 1:19 ผลปรากฏว่าการเคลือบผิวผลทุเรียนด้วยสารอีมัลชั่นในอัตราส่วน 1:4 ให้ผลดีที่สุด เพราะทำให้ผลทุเรียนแตกช้ากว่าผลทุเรียนในชุดควบคุม และยังช่วยชะลอการเปลี่ยนสีของเปลือกและมีการสูญเสียน้ำหนักน้อยกว่าชุดควบคุม สารอีมัลชั่นซึ่งประกอบด้วยน้ำมันปาล์มโอลีอีนที่มากกว่า 1:4 จะชะลอการสุกของผลทุเรียนนานขึ้น และมีจำนวนผลที่สุกตามปกติลดลง ยิ่งมีอัตราส่วนของน้ำมันสูงยิ่งทำให้ผลทุเรียนไม่สุก และมีความผิดปกติเกิดขึ้นภายในผลด้วย
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์. 2542. ปริมาณและมูลค่าการส่งออกผลไม้. เอกสารเผยแพร่ กระทรวงพาณิชย์. เกศิณี ระมิงค์วงศ์. 2530. ไม้ผลเมืองร้อน. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 290 หน้า.
นิรนาม. 2530. โครงการศึกษาการใช้วิทยาการที่เหมาะสมสำหรับผักสดและผลไม้สดเพื่อการส่งออก กรมพาณิชย์สัมพันธ์. 240 หน้า.
ไพฑูรย์ ทรัพย์มาดี. 2535. ผลของการใช้สารเคลือบผิว FMC Sta-tresh 7055 เพื่อชะลอการสุกและการแตกของผลทุเรียนพันธุ์ชะนี. รายงานการสัมมนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน.
วิเชียร กำจายภัย และโชติ สุวิปกิจ. 2529. สภาวะผลไม้เมืองร้อนในตลาดผลไม้ญี่ปุ่น. ภาคผนวกที่ 3 การ ปรับปรุงคุณภาพผลไม้และผักสดเพื่อการส่งออก กรมวิชาการเกษตร, 66-69.
สิริพันธ์ ศรียุกต์. 2535. ผลของสารเคมีต่อการสุกและการแตกของทุเรียนพันธุ์ชะนี รายงานการสัมมนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน.
Baldwin, E. A. 1994. Edible coatings for fresh fruits and vegetables: past, present and future p. 25- 64. In J.M. Krochta, E. A. Baldwin and M. Nisperos-Carriedo (eds). Edible Coatings and Films to Improve Food Quality. Technomic Publishing Switzerland.
Bank, N.H., B.K. Dadzie and D.J. Cleland. 1993. Reducing gas exchange of fruits with surface coatings Postharvest Biology and Technology. 3(3): 269-284.
Nanthachai, S. 1994. Durian : Fruit Development, Postharvest Physiology, Handling and Marketing in ASEAN Food Handling Vureau Kaula Lumpur. 156 p.
Yang, S.F. 1985. Biosynthesis and action of ethylene. HortScience. 20(1): 41-57.
นิรนาม. 2530. โครงการศึกษาการใช้วิทยาการที่เหมาะสมสำหรับผักสดและผลไม้สดเพื่อการส่งออก กรมพาณิชย์สัมพันธ์. 240 หน้า.
ไพฑูรย์ ทรัพย์มาดี. 2535. ผลของการใช้สารเคลือบผิว FMC Sta-tresh 7055 เพื่อชะลอการสุกและการแตกของผลทุเรียนพันธุ์ชะนี. รายงานการสัมมนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน.
วิเชียร กำจายภัย และโชติ สุวิปกิจ. 2529. สภาวะผลไม้เมืองร้อนในตลาดผลไม้ญี่ปุ่น. ภาคผนวกที่ 3 การ ปรับปรุงคุณภาพผลไม้และผักสดเพื่อการส่งออก กรมวิชาการเกษตร, 66-69.
สิริพันธ์ ศรียุกต์. 2535. ผลของสารเคมีต่อการสุกและการแตกของทุเรียนพันธุ์ชะนี รายงานการสัมมนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน.
Baldwin, E. A. 1994. Edible coatings for fresh fruits and vegetables: past, present and future p. 25- 64. In J.M. Krochta, E. A. Baldwin and M. Nisperos-Carriedo (eds). Edible Coatings and Films to Improve Food Quality. Technomic Publishing Switzerland.
Bank, N.H., B.K. Dadzie and D.J. Cleland. 1993. Reducing gas exchange of fruits with surface coatings Postharvest Biology and Technology. 3(3): 269-284.
Nanthachai, S. 1994. Durian : Fruit Development, Postharvest Physiology, Handling and Marketing in ASEAN Food Handling Vureau Kaula Lumpur. 156 p.
Yang, S.F. 1985. Biosynthesis and action of ethylene. HortScience. 20(1): 41-57.