ผลของสารเคมีต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของดอกอัลสโตรมีเรีย

Main Article Content

ดนัย บุณยเกียรติ
ยงยุทธ ข้ามสี่

บทคัดย่อ

ดอกยัลสโตรมีเรียพันธุ์ Advendo แช่ในสารละลายที่ประกอบด้วย Silver thiosulfate 0.25Mm, Benzylaminopurine 100 ppm และกรด Citric 75 ppm และสารละลาย Florissant 110 2 มล./ลิตร นาน 24 ชั่วโมง ปรากฏว่าสารเคมีมีผลช่วยยืดระยะเวลาที่ดอกอัลสโตรมีเรีย แสดงอาการใบเหลือง 50 เปอร์เซ็นต์ จาก 5.44 วันเป็น 8.07 และ 7.20 วันตามลำดับ และอาการกลีบดอกร่วง 50 เปอร์เซ็นต์ จาก 8.60 วันเป็น 11.73 และ 10.87 วันตามลำดับ  นอกจากนี้สารเคมียังช่วยลดระดับอาการเหลืองของใบให้น้อยลงอีกด้วย.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ทองอำไพ, พีระเดช. (2528). ฮอร์โมนพืชและสารสังเคราะห์. ภาควิชาพืชสวน, คณะเกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 196 น.
Annonymous. (1987). Florissant 110: Post-harvest treatment for Alstroemeria and Euphorbia. Florissants, houdt ,de kwaliteit van UW produkten langer vast. Roelofarendsveen, Holland. 5 pp.
Cook, D., Rasche, M. and Eisinger, W. (1985). Regulation of ethylene biosynthesis and action of cut carnation flower senescence by cytokinin. J. Amer. Soc. Hort. Sci. 11024-27.
Dai, J.W. and Paull, R.E. (1991). Postharvest handling of Alstroemeria Hort. Sci. 26: 314.
POKON & CHRYSAL. (In press). Chrysal SVB:Pre-treatment agent against leaf yellowing of Alstroemeria and Euphorbia fulgens. Technical Handbook of Pokon and chrysal. 5163 E 0987. Naarden Holland. 5 pp.
Reid, M.S. and Lukaszewski, T.A. (1988). Postharvest Care and Handling of Cut Flowers. Bir Department of Environmental Horticulture, University of California, Davis, California. 65 pp.
Staby, G.and Naegle, B. (1984). The effects of STS on vase-life of flowers. Florits Rev. 174: 17-21.
Vermeulen, I.C. (1986). Behoud van Kwaliteit Alstroemeria door Voorbehandelingsmiddelen. Vakblad voor de Bloemisterij. 1848.